80
ถกเถียงวัฒนธรรม
เกี่
ยวกั
บบ้
านเกิ
ดและความเป็
นชาติ
พร้
อมๆ กั
บการบริ
โภคความเป็
นสมั
ยใหม่
ขณะเดี
ยวกั
นบางส่
วนก็
ยั
งจั
ดงานประเพณี
ในฐานะพื้
นที่
สาธารณะและชี
วิ
ต
ทางสั
งคมของพวกเขา เพื่
อปรั
บพลวั
ตของความสั
มพั
นธ์กั
บรั
ฐและระบบทุ
น
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรม ในมิ
ติ
ของวาทกรรม ได้
ขยายพรมแดนความรู้
ที่
ช่
วยให้
มองเห็
นปั
ญหาของความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจระหว่
างกลุ
่
มชนต่
างๆ ทั้
ง
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
กลุ
่
มทางศาสนา กลุ
่
มทางเพศ กลุ
่
มวั
ฒนธรรมย่
อย และกลุ
่
มชายขอบ
อื่
นๆ ในรั
ฐชาติ
และข้
ามรั
ฐมากขึ้
น ซึ่
งมี
เกี่
ยวพั
นกั
บกระบวนการต่
างๆ มากมาย
ไม่
ว่
าจะเป็
นการครอบง�
ำ ความขั
ดแย้
ง ความซั
บซ้
อน และการต่
อรองกั
นอยู่
ตลอดเวลา
เมื่อเชื่
อมโยงกับบริ
บทและเงื่
อนไขของความสั
มพั
นธ์
ในด้
านต่
างๆ เช่
น วาทกรรม
ความรู้ วัฒนธรรมบริ
โภคนิยม อัตลักษณ์ วัฒนธรรมพหุนิยม ความเป็นพลเมือง
และความเป็นสมั
ยใหม่ เป็นต้น
แต่
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมเช่
นนี้
ก็
อาจจะยั
งไม่
ได้
ให้
ความส�
ำคั
ญกั
บ
ความเคลื่
อนไหวทางสั
งคมวั
ฒนธรรม ที่
เกิ
ดขึ้
นในบริ
บทเชิ
งโครงสร้
างและ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองที่ก�
ำลังเปลี่ยนแปลง แม้จะมีความสนใจ
ความเคลื่
อนไหวอยู่
บ้
างแล้
ว จึ
งจ�
ำเป็
นต้
องปรั
บความเข้
าใจวั
ฒนธรรมเพิ่
มเติ
มต่
อไป
2.6 กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมปฏิบัติการและความเคลื่อนไหว
ในบริบทของความขัดแย้งทางเศรษฐกิจการเมือง
แนวทางในการศึ
กษาของกลุ
่
มนี้
อาจจะถื
อว่
ายั
งอยู่
ในขั้
นแรกเริ่
มของ
การก่
อตั
วขึ้
นมาใหม่
จึ
งยั
งไม่
มี
ปรากฏแนวทางชั
ดเจนเช่
นเดี
ยวกั
บกลุ
่
มอื่
นๆ
ก่
อนหน้
านี้
และบางส่
วนก็
อาจจะมี
ลั
กษณะใกล้
เคี
ยงกั
บแนวทางของกลุ
่
มศึ
กษา
วาทกรรม โดยเฉพาะการมองวั
ฒนธรรมในเชิ
งปฏิ
บั
ติ
การคล้
ายคลึ
งกั
น แต่
แนวทางของกลุ่มศึ
กษาวาทกรรมจะเน้น การปฏิ
บั
ติ
การของการช่วงชิ
งและต่อรอง
ในด้
านของความหมาย ความรู้
และอั
ตลั
กษณ์
มากกว่
าการต่
อรองเพื่
อปรั
บเปลี่
ยน
ความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจ และยั
งอาจจะให้
ความสนใจกั
บความเคลื่
อนไหวทาง