78
ถกเถียงวัฒนธรรม
ในกรณี
ของสั
งคมไทย การรั
บความคิ
ดและความเข้
าใจชาติ
พั
นธุ์
ดั
งกล่
าวเริ่
ม
ปรากฏชัดมากขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 2540 ดังจะพบข้อถกเถียงเกี่ยวกับมุมมอง
เช่นนี้
ในงานของอานั
นท์ (2541ข) และต่อมาเมื่
อได้ผสมผสานกั
บแนวความคิ
ดเรื่
อง
วาทกรรมและอั
ตลั
กษณ์ (อภิ
ญญา 2546) เพิ่
มเติ
มอี
ก ก็
ยิ่
งช่
วยเสริ
มให้ความเข้
าใจ
ชาติ
พั
นธุ
์
เชิ
งวาทกรรมมี
พลั
งในการวิ
เคราะห์
มากขึ้
น ซึ่
งน�
ำไปสู่
การขยายตั
วของ
การวิจั
ยชาติ
พั
นธุ์ ในมิ
ติ
ของวาทกรรมวั
ฒนธรรมพหุ
นิ
ยมตามมา
ในระยะแรกๆ วาทกรรมวั
ฒนธรรมพหุ
นิ
ยมที่
ส�
ำคั
ญ จึ
งแสดงออกมาใน
ประเด็
นการเมื
องของอั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ์
ซึ่
งมี
งานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
องมากมาย เช่
น
งานวิ
จั
ยของ อรั
ญญา ศิ
ริ
ผล (2546) ศึ
กษาการตอบโต้ของชาวม้งต่อการถูกกั
กขั
ง
อั
ตลั
กษณ์ไว้กั
บฝิ่น ด้วยการแสดงอั
ตลั
กษณ์ออกมาอย่างหลากหลาย ทั้
งในระดั
บ
ปั
จเจกชนและระดั
บชุ
มชน เพื่
อปรั
บเปลี่
ยนความสั
มพั
นธ์
กั
บวาทกรรมครอบง�
ำต่
างๆ
ของรั
ฐ ไม่
ว่
าจะเป็
นการสร้
างภาพลั
กษณ์
ของชุ
มชนปลอดยาเสพติ
ด หรื
อชุ
มชนของ
ผู้ประสพความส�
ำเร็
จทางเศรษฐกิ
จ เป็นต้น
นอกจากนั้
น ยังมีการศึกษากระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์
ต่
างๆ ในลั
กษณะอื่
นๆ อี
ก เช่
น งานวิ
จั
ยของขวั
ญชี
วั
น บั
วแดง (2546) ศึ
กษา
การปรั
บเปลี่
ยนศาสนาของชาวกะเหรี่
ยง ในบริ
บทของการเปลี่
ยนแปลงระบบ
ความสั
มพั
นธ์
ในการผลิ
ตและความสั
มพั
นธ์
กั
บคนภายนอกชุ
มชนมากขึ้
น ด้
วย
การผสมผสานความเชื่
อทั้
งศาสนาเดิ
มกั
บศาสนาคริ
สต์
และพุ
ทธ เพื่
อปรั
บ
ความสั
มพั
นธ์เชิ
งอ�ำนาจให้ตนเองมี
สถานภาพทางสั
งคมสูงขึ้
น
ในกระบวนการสร้
างอั
ตลั
กษณ์
นั้
น อาจจะไม่
จ�
ำเป็
นต้
องเกี่
ยวกั
บการตอบโต้
หรื
อการยกสถานภาพทางสั
งคมเท่
านั้
น ในบางกรณี
อาจจะเป็
นการสร้
างการยอมรั
บ
ก็
ได้
เช่
น กรณี
ของชาวไตหรื
อไทใหญ่
ที่
แม่
ฮ่
องสอน ซึ่
งนิ
ติ
ภวั
ครพั
นธุ์
(2547) ศึ
กษา
และพบว่
า ชาวไตใช้
การปรั
บเปลี่
ยนความทรงจ�
ำของตน ในกระบวนการสร้
าง
ความเป็นไทย เพื่
อการในชี
วิ
ตอยู่ในรั
ฐไทย
ดั
งนั้
นกระบวนการสร้
างอัตลั
กษณ์
ในวาทกรรมวั
ฒนธรรมพหุ
นิ
ยม จึ
งเป็
น
กระบวนการที่
หลากหลายและซั
บซ้
อน ซึ่
งไม่
ได้
ปรั
บเปลี่
ยนไปในทิ
ศทางเดี
ยวกั
น