งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
83
มี
ลั
กษณะแตกต่
างกั
นอย่
างหลากหลาย และครอบคลุ
มการกระท�
ำต่
างๆ ตั้
งแต่
การรวมตั
วกั
นเพื่
อวิ
พากษ์
ปฏิ
เสธ การตี
ความอุ
ดมการณ์
ใหม่
และการสร้
าง
ความทรงจ�
ำทางประวั
ติ
ศาสตร์ขึ้
น ตลอดจนการต่อต้านในชี
วิ
ตประจ�
ำวั
น เป็นต้น
ในปี
พ.ศ.2529 นั
กวิ
ชาการชาวญี่
ปุ
่
นชื่
อ ชิ
เกฮารุ
ทานาเบ ก็
ได้
น�
ำ
แนวความคิ
ดอุ
ดมการณ์
ปฏิ
บั
ติ
การ มาใช้
ศึ
กษาการต่
อสู้
ของผู้
น�
ำชาวนาใน
ภาคเหนื
อ ในหนังสื
อเรื่
อง “
นุ่งเหลือง-นุ่งด�ำ: ต�ำนานของผู้น�ำชาวนาแห่ง
ล้านนาไทย
” (ทานาเบ 2529) ซึ่
งพยายามวิ
เคราะห์
กระบวนการเปลี่
ยนอ�
ำนาจ
ศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ไปสู่
อ�
ำนาจการเมื
อง ผ่
านการตี
ความอุ
ดมการณ์
ตนบุ
ญ ในบริ
บทของ
การต่อสู้เพื่
อความเป็นธรรมในการจั
ดการน�้
ำของชาวบ้าน
ที่
จริ
งแล้ว การอธิ
บายแนวคิดอุ
ดมการณ์ปฏิ
บั
ติ
การ ซึ่
งมั
กจะยึ
ดโยงอยู่กั
บ
ความคิ
ดเรื่
องพื้
นที่
ทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม ในการปรั
บความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจ
ด้
วยเสมอนั้
น อาจกล่
าวได้
ว่
า มี
พื้
นฐานอยู่
ในความคิ
ดทางมานุ
ษยวิ
ทยามานานแล้
ว
เช่นเดี
ยวกั
น ดั
งจะเห็
นได้จากความคิ
ดของ Victor Turner (1969) ที่
มองอุ
ดมการณ์
เป็นปฏิบัติการอยู่ในกระบวนการทางพิธีกรรม ซึ่งมักจะเปิดให้มีช่วงเปลี่ยนผ่านที่
ไม่ผูกติ
ดอยู่กั
บโครงสร้าง หรื
อที่
เรี
ยกว่า สภาวะหั
วเลี้
ยวหั
วต่อ (Liminality) ในการ
ผสมผสานความคิ
ด ที่
อาจจะขั
ดแย้งกันขึ้
นใหม่อย่างสร้างสรรค์ได้
ในภายหลั
ง ความคิ
ดเรื่
องพื้
นที่
ทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมท�
ำนองนี้
ยั
งได้รั
บ
การพั
ฒนาและขยายความเพิ่
มเติ
มออกไปอี
กอย่
างซั
บซ้
อน ในงานของ Henri
Lefebrve เรื่
อง “The Production of Space” (Lefebrve 1991) และเมื่
อน�
ำมาปรั
บใช้
ควบคู่
กั
บแนวความคิ
ดวั
ฒนธรรมปฏิ
บั
ติ
การในงานของนั
กมานุ
ษยวิ
ทยา เช่
น หนั
งสื
อ
เรื่
อง
“Outline of a Theory of Practice”
ของ Pierre Bourdieu (1977) และ
หนั
งสื
อเรื่
อง
“The Practice of Everyday Life”
ของ Michel de Certeau (1984)
แล้
ว ก็
จะมี
พลั
งในการวิ
เคราะห์
ความเคลื่
อนไหวทางวั
ฒนธรรมต่
างๆ อย่
างมาก
แต่
ในปั
จจุ
บั
นนี้
นั
กวิ
ชาการไทยยั
งรั
บแนวความคิ
ดเหล่
านี้
มาปรั
บใช้
ในการศึ
กษา
อย่างค่อนข้างจ�
ำกั
ดอยู่มาก