งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
79
ทั้งหมด แต่อาจจะผสมผสานและด�
ำรงอยู่ร่วมกันก็ได้ ในกรณีศึกษากระบวนการ
รื้
อฟื
้
นอั
กษรไทในเวี
ยดนาม ยุ
กติ
มุ
กดาวิ
จิ
ตร (2548) ได้
พบว่
าเป็
นกระบวนการ
ต่
อรองของชุ
มชนในหลายระดั
บและหลากลั
กษณะ ในฐานะที่
เป็
นความเคลื่
อนไหวที่
ซั
บซ้อน เพื่
อปรั
บความสั
มพั
นธ์ต่างๆ ทั้
งภายในและภายนอกท้องถิ่
น ในบริ
บทของ
รั
ฐชาติ
ที่
ก�
ำลั
งเปลี่
ยนแปลงไป
อย่างไรก็ตาม กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ในวาทกรรมวัฒนธรรมพหุนิยม
ไม่
ได้
จ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เท่
านั้
น ที่
จริ
งแล้
วยั
งมี
กรณี
ศึ
กษาที่
เกี่
ยวข้
อง
กั
บความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมในลั
กษณะอื่
นๆ อี
ก ที่
ด�
ำรงอยู่
ร่
วมกั
นอย่
าง
ซั
บซ้
อนในสั
งคมไทย ไม่
ว่
าจะเป็
นการเมื
องของอั
ตลั
กษณ์
ทางเพศ ศาสนา และแม้
แต่
อั
ตลั
กษณ์
ของกลุ่
มชายขอบอื่
นๆ เช่
น กลุ่
มวั
ฒนธรรมย่
อย และกลุ่
มที่
อยู่
ก้
นบึ้
งของ
สั
งคม เช่
น คนไร้
บ้
าน (บุ
ญเลิ
ศ 2546) ซึ่
งมี
จ�
ำนวนมาก จึ
งไม่
สามารถจะประมวลมา
ให้เห็
นเป็นตั
วอย่างได้ทั้
งหมดในบทสั
งเคราะห์สั้
นๆ ชิ้
นนี้
ในระยะหลั
งๆ กระบวนการสร้
างอั
ตลั
กษณ์
ในวาทกรรมวั
ฒนธรรมพหุ
นิ
ยม
ที่
น่
าสนใจ จะเริ่
มหั
นมามองการสร้
างอั
ตลั
กษณ์
ลอดรั
ฐชาติ
มากขึ้
น ดั
งจะเห็
นได้
จาก
ความสนใจศึ
กษาคนพลั
ดถิ่
น (ฐิ
รวุ
ฒิ
2547) และกรณี
ศึ
กษาต่างๆ เช่น งานศึ
กษา
ของปิ่นแก้ว เหลื
องอร่ามศรี
(2549) เรื่
องหญิ
งพลั
ดถิ่
นไทใหญ่ในพื้
นที่
ชายขอบของ
รัฐชาติ ซึ่งสร้างวาทกรรมคนพลัดถิ่น ผ่านการวิพากษ์วาทกรรมรัฐชาติ ที่กระท�
ำ
ความรุ
นแรงต่
อร่
างกายผู้
หญิ
ง ในความเคลื่
อนไหวทางการเมื
องที่
เชื่
อมโยงระดั
บ
ท้องถิ่
น ชาติ
และโลกเข้าไว้ด้วยกัน
กรณี
ศึ
กษาวั
ฒนธรรมของคนพลั
ดถิ่
นส่
วนใหญ่
จะให้
ความส�
ำคั
ญกั
บ
การเมืองของอัตลักษณ์ที่ลอดรัฐ ส่วนในเชิงวิธีวิทยาก็จะเน้น การมองวัฒนธรรม
บริ
โภคนิ
ยม ในเชิ
งที่
เป็
นกระบวนการปรั
บความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจมากขึ้
น แทนที่
จะ
มองในด้านของการครอบง�ำด้านเดี
ยว เช่น กรณี
ศึ
กษา คนไทใหญ่พลั
ดถิ่
นในไทย
ของ Amporn Jirattikorn (2007) ซึ่
งพบว่ามี
อั
ตลั
กษณ์ที่
ซั
บซ้อนและลื่
นไหล เพื่
อการ
ใช้
ชี
วิ
ตอยู่
ในสั
งคมเชี
ยงใหม่
โดยที่
บางส่
วนจะนิ
ยมบริ
โภคเพลงไทใหญ่
สมั
ยนิ
ยม
จากพม่
า ในการสร้
างอั
ตลั
กษณ์
ข้
ามพรมแดน ที่
เชื่
อมโยงกั
บการบริ
โภคความทรงจ�
ำ