76
ถกเถียงวัฒนธรรม
และหลากหลายซั
บซ้
อนอย่
างมาก โดยไม่
ได้
มี
ความหมายไปในทางใดทางหนึ่
งทาง
เดี
ยวเสมอไป ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมบริ
โภคนิ
ยมท�
ำนองนี้
จะเพิ่
งเริ่
มปรากฏชั
ดเจนขึ้
น
ในงานวิ
จั
ยช่วงหลั
งของทศวรรษที่
2540 ไปแล้ว
งานวิ
จั
ยของ ปราโมทย์
ภั
กดี
ณรงค์
(2548) เรื่
อง “การเมื
องของสุ
นทรี
ยภาพ
ผ้าซิ่
นตี
นจกแม่แจ่ม” น่าจะเป็นตั
วอย่างที่
ดี
ชิ้
นหนึ่
งของช่วงเวลาดั
งกล่าว งานชิ้
นนี้
พยายามถกเถี
ยงว่
า วั
ฒนธรรมการบริ
โภคสิ
นค้
าวั
ฒนธรรม ในกรณี
นี้
ก็
คื
อ ผ้
าซิ่
นตี
นจก
ของอ�
ำเภอแม่
แจ่
ม จั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
เป็
นการเมื
องของการบริ
โภควั
ตถุ
สิ
นค้
า
ผ่
านคุ
ณค่
าเชิ
งสั
ญญะ เพราะมี
รหั
สทางวั
ฒนธรรมหรื
อความหมายในการสื่
อสาร
ที่
ไม่
จ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะในกลุ
่
มหรื
อชนชั้
นทางสั
งคมของผู้
บริ
โภคเท่
านั้
น จึ
งเกี่
ยวข้
อง
กั
บการช่
วงชิ
งความหมาย ด้
วยการสร้
างวาทกรรม หรื
อ “ชุ
ดความรู้
” เกี่
ยวกั
บ
ผ้าซิ่
นตี
นจกแตกต่างกั
น ที่
เป็นเสมื
อนพื้
นที่
ของการนิ
ยามตั
วตน ในสั
งคมของกลุ่ม
คนต่
างๆ ที่
มี
ส่
วนร่
วมอยู่
ในวั
ฒนธรรมการบริ
โภคสิ
นค้
าวั
ฒนธรรมนี้
ทั้
งภายนอก
และภายในชุ
มชนท้องถิ่
นเอง
การศึ
กษาดั
งกล่
าววิ
เคราะห์
การช่
วงชิ
งความหมายที่
เกิ
ดขึ้
นในท้
องถิ่
นว่
า
เป็นการต่อรองในเชิ
งวาทกรรม เกี่
ยวกั
บการบริ
โภคสิ
นค้าวั
ฒนธรรม ซึ่
งไม่ได้ผูกติ
ด
อยู่
กั
บคู่
ตรงข้
ามเท่
านั้
น เพราะยั
งมี
กลุ
่
มคนที่
หลากหลายในชุ
มชนท้
องถิ่
นเอง
เข้ามามีส่
วนร่วมในการสร้
างชุดความรู้
อื่นๆ ขึ้นมาช่
วงชิงความหมายด้วย แม้
จะ
ยั
งไม่มี
พลั
งมากนั
กก็
ตาม ส�ำหรั
บวาทกรรมหลั
กนั้
น ในด้านหนึ่
งจะแสดงออกผ่าน
หน่
วยราชการท้
องถิ่
น ที่
พยายามส่
งเสริ
มให้
ผ้
าซิ่
นตี
จกเป็
นสิ
นค้
าวั
ฒนธรรมเชิ
งการค้
า
เต็
มรูปแบบ ขณะที่
ในอี
กด้
านหนึ่
ง นั
กวิ
ชาการและสื่
อมวลชนจะตอบโต้
วาทกรรมแรก
ผ่
านการนิ
ยามผ้
าซิ่
นในเชิ
ง “คุ
ณค่
าวั
ฒนธรรมที่
แท้
จริ
ง” หรื
อ “วั
ฒนธรรมประชาชน”
ที่
มี
รหั
สทางวั
ฒนธรรมเป็
นสากล เช่
น อุ
ดมการณ์
พุ
ทธศาสนา พื้
นที่
เฉพาะของผู้
หญิ
ง
และวิถี
ชี
วิ
ตไทย เป็นต้น
แม้
จะมี
กลุ
่
มคนในท้
องถิ่
นยอมรั
บวาทกรรมหลั
กทั้
งสองชุ
ดแตกต่
างกั
นไป
แต่
บางส่
วนยั
งไม่
ยอมรั
บ เพราะมี
ความทรงจ�
ำในท้
องถิ่
นที่
แตกต่
างออกไป
เนื่องจากวาทกรรมหลักจะมีลักษณะสากลและหลุดออกไปจากบริบทของท้องถิ่น