86
ถกเถียงวัฒนธรรม
2.7 บทสรุป
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมต่
างๆ ในงานวิ
จั
ยสั
งคมไทยนั้
น อาจจะแยกแยะออกได้
ตามกลุ
่
มการศึ
กษาอย่
างน้
อย 5 กลุ
่
ม ดั
งได้
ทบทวนและสั
งเคราะห์
ให้
เห็
นแล้
วข้
างต้
น
แต่ความเข้าใจเหล่านั้
นทั้งหมด ก็ยังคงยืนหยัดอยู่อย่างครบถ้วน และพร้อมหน้า
พร้
อมตากั
นในปั
จจุ
บั
น แม้
ว่
าจะเริ่
มก่
อตั
วขึ้
นมาต่
างเวลากั
นก็
ตาม ซึ่
งหมายความว่
า
ความเข้
าใจที่
เกิ
ดขึ้
นใหม่
ก็
ยั
งไม่
สามารถแทนที่
ความเข้
าใจที่
มี
มาก่
อนหน้
านั้
นได้
และความเข้าใจที่เกิดมาก่อน ก็ยังไม่ได้สูญสิ้นพลังไปทั้งหมด ในการจูงใจให้เกิด
การศึ
กษาวิ
จั
ยใหม่
ๆ ทั้
งนี้
คงจะเป็
นเพราะ ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมตามความคิ
ด
ในแต่
ละกลุ
่
มการศึ
กษา ต่
างก็
มี
นั
ยที่
ต้
องการตั้
งค�
ำถามและแสวงหาค�
ำตอบ
ต่
อประเด็
นต่
างๆ ในเงื่
อนไขที่
แตกต่
างกั
นไป ดั
งปรากฏว่
า นั
กวิ
จั
ยหลายคนก็
มี
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมอยู่
ในหลายกลุ
่
มการศึ
กษา ขึ้
นอยู่
กั
บประเด็
นของการวิ
จั
ย
ที่
แตกต่างกั
นไปในแต่ละช่วงเวลา
ด้
วยเหตุ
นี้
เอง จึ
งอาจกล่
าวได้
ว่
าความเข้
าใจวั
ฒนธรรม ในลั
กษณะต่
างๆ
นั้
นไม่
ใช่
ค�
ำตอบส�
ำเร็
จรูปที่
สมบูรณ์
ในตั
วเอง หากเป็
นแต่
เพี
ยงแนวคิ
ดที่
ช่
วย
ในการตั้
งค�
ำถาม หรื
อการวิ
เคราะห์ประเด็
นปัญหาที่
แตกต่างกั
นไป ตามเป้าหมาย
ในการศึ
กษาวิจั
ยต่
างๆ ซึ่
งยั
งคงเป็
นประเด็
นที่ถกเถี
ยงกั
นไม่
ตกฝาก ระหว่
างการ
ด�
ำรงอยู่
และเอกภาพของรั
ฐชาติ
กั
บการวิ
พากษ์
แนวทางการเปลี่
ยนแปลงสั
งคม
และการเสนอทางเลื
อกทิ
ศทางใหม่ๆ
แต่ก็เป็นที่น่าสังเกตเช่นกันว่า ความเข้าใจวัฒนธรรมใหม่ๆ นั้
นจะมีนัยเชิง
วิ
พากษ์
วิ
จารณ์
ลั
กษณะ ที่
เป็
นเอกภาพและการเป็
นตั
วก�ำหนดของวั
ฒนธรรมมากขึ้
น
พร้
อมๆ กั
บการหั
นมาให้
ความส�
ำคั
ญกั
บมุ
มมองที่
หลากหลาย และการกระท�
ำ
ของผู้
คนในวั
ฒนธรรมแทนที่
ขณะเดี
ยวกั
นก็
ไม่
ได้
มองวั
ฒนธรรมอย่
างอิ
สระและ
ตั้
งอยู่
ในความว่
างเปล่
า แต่
มองวั
ฒนธรรมอย่
างยึ
ดโยงอยู่
กั
บบริ
บทในความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมอื่
นๆ ด้วย