งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
77
ขณะเดียวกันก็เน้นตัวสัญญะมากกว่าตัวชาวบ้าน ซึ่งท�
ำให้ชาวบ้านไร้พลังในการ
ก�
ำหนดทิ
ศทางการอธิบาย ชาวบ้านบางส่วนจึ
งพยายามเข้ามาต่อรองความหมาย
ด้
วยการสร้
างตั
วตนในทางประวัติศาสตร์
จากความทรงจ�
ำ ซึ่งก็
จะแตกต่
างกั
นไป
ตามฐานะบทบาทและอ�
ำนาจในสั
งคม ที่
ยั
งไม่
มั่
นคงและยั
งไม่
เท่
าเทียมกั
น แต่
ก็
ท�
ำให้
เกิ
ดชุ
ดความรู้
ที่
หลากหลายมากขึ้
นกว่
า ที่
มี
อยู่
ในวาทกรรมกระแสหลั
กเท่
านั้
น
(ปราโมทย์ 2548: 208-218)
ประเด็
นที่
สาม การศึ
กษาวาทกรรมวั
ฒนธรรมพหุ
นิ
ยม อาจจะถื
อได้
ว่
า
เป็
นการสานต่
อแนวความคิ
ดเรื่
องความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
ที่
เริ่
มศึ
กษา
กันมาแล้วในกลุ่มที่สอง แต่ความเข้าใจชาติพันธุ์ในกลุ่มที่สอง ยังคงยึดติดอยู่กับ
ความคิดแบบแก่
นสารนิยม กล่
าวคือเชื่อในการด�
ำรงอยู่
ด้
วยตัวเองของความเป็
น
ชาติ
พั
นธุ์ ซึ่
งในระยะหลั
งทั้
งรั
ฐชาติ
และระบบตลาดได้น�
ำมาใช้เป็นพื้
นฐาน ในการ
ครอบง�
ำและกั
กขั
งภาพลั
กษณ์
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ต่
างๆ ให้
ถาวรและตายตั
ว ทั้
งภาพ
เชิ
งลบ เพื่
อการควบคุ
มและกี
ดกั
นกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เหล่
านั้
น และภาพเชิ
งบวก เพื่
อการขาย
เป็
นสิ
นค้
าวั
ฒนธรรม ซึ่
งน�
ำไปสู่
การลดทอนความเป็
นมนุ
ษย์
ของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ทั้
งหลายมากขึ้
น
เมื่
อความเข้
าใจชาติ
พั
นธุ
์
ในทางมานุ
ษยวิ
ทยาค่
อยๆ พั
ฒนาและ
เปลี่ยนแปลงไป หลังจากได้รับอิทธิพลทางความคิดจากนั
กมานุษยวิทยาที่ส�
ำคัญ
2 คนคื
อ Edmund Leach (1954) และ Fredrik Barth (1969) ในกรณี
ของ Leach ได้
เสนอให้
มองชาติ
พั
นธุ์
เป็
นเสมื
อนบทบาท ที่
สามารถปรั
บแปลงไปได้
ตามเงื่
อนไขของ
บริ
บทแวดล้
อม และไม่
ใช่
ลั
กษณะทางวั
ฒนธรรมที่
ด�
ำรงอยู่
อย่
างตายตั
ว ขณะที่
Barth ได้
ชี้
ให้
เห็
นว่
า ชาติ
พั
นธุ์
เป็
นคุ
ณสมบั
ติ
ทางวั
ฒนธรรมที่
หลากหลาย และไม่
ใช่
ความเชื่
อหรื
อแบบแผนที่
สื
บทอดกั
นมา ซึ่
งคนในกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
สามารถเลื
อกน�
ำมาใช้
เพื่
อนิ
ยามความเป็
นสมาชิ
กภาพของตนเองในกลุ
่
ม และในความสั
มพั
นธ์
กั
บกลุ
่
ม
อื่
นๆ เพราะสามารถปรั
บเปลี่
ยนและลื่
นไหลไปมาได้
การศึ
กษากลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
จึ
ง
หั
นมาสนใจการสร้
างและนิ
ยามความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
ในเชิ
งกระบวนการที่
เปลี่
ยนแปลง
ได้มากขึ้
น