82
ถกเถียงวัฒนธรรม
ชาวอั
งกฤษชื่
อ Andrew Turton ในบทความเรื่
อง “Limits of Ideological Domination
and the Formation of Social Consciousness” (Turton 1984) ซึ่
งเพิ่
งจะมี
การแปล
เป็
นไทยและตี
พิ
มพ์
ในปี
พ.ศ.2551 นี้
เอง ในชื่
อภาษาไทยว่
า “การครอบง�
ำและ
ความหวาดกลั
วในสั
งคมไทย” (อู่
ทอง ผู้
แปล 2551) นอกจากจะศึ
กษาการต่
อสู้
ของ
ชาวนาในช่
วงระหว่
าง พ.ศ.2516-2519 และการปราบปรามความเคลื่
อนไหวของ
ประชาชนหลั
งเหตุ
การณ์
6 ตุ
ลาคม 2519 แล้
ว งานชิ้
นนี้
ยั
งเป็
นงานชิ้
นแรกๆ ที่
เสนอ
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมด้
วยแนวคิ
ดอุ
ดมการณ์
ปฏิ
บั
ติ
การ ตามกรอบแนวคิ
ดในทฤษฏี
มาร์
กซิ
สต์
ที่
ได้
รั
บอิ
ทธิ
พลเพิ่
มเติ
มจากความคิ
ดของ Antonio Gramsci (1971) ซึ่
งเป็
น
นั
กคิ
ดชาวอิ
ตาเลี
ยน และ Raymond Williams (1958) นั
กคิ
ดชาวอั
งกฤษ
ในการเสนอแนวคิดอุดมการณ์ปฏิบัติการนั้
น Andrew Turton ต้องการจะ
ท้าทายความเข้าใจอุ
ดมการณ์วั
ฒนธรรม ที่
เคยเชื่
อสื
บๆ กั
นมาว่า วั
ฒนธรรมเป็น
ตั
วก�
ำหนดการกระท�
ำต่
างๆ เพราะเป็
นความคิ
ดที่
ด�
ำรงอยู่
และสื
บทอดได้
อย่
าง
ต่
อเนื่
อง หรื
อเป็
นระบบความหมาย โครงสร้
าง และวิ
ถี
ปฏิ
บั
ติ
ที่
ตายตั
ว โดยเสนอให้
มอง
อุ
ดมการณ์
และความรู้
ทั้
งในลั
กษณะที่
เป็
นวาทกรรม และในลั
กษณะของปฏิ
บั
ติ
การ
ของตั
วผู้
กระท�
ำการทางสั
งคม ในกระบวนการต่
างๆ ที่
มี
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
ระหว่
างกั
นและกั
น
ซึ่งเปรียบเสมือนพื้
นที่
ของการต่
อสู้
ระหว่
างกลุ
่
มอ�ำนาจทางสังคมต่
างๆ ที่
ซั
บซ้
อน
เพราะไม่ใช่เป็นเพี
ยงการช่วงชิ
งความหมายเชิ
งวาทกรรมเท่านั้
น แต่ยั
งเกี่
ยวพั
นกั
บ
การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์เชิงอ�
ำนาจทางเศรษฐกิจการเมือง ที่เป็นบริบทของ
การต่อสู้ดั
งกล่าวด้วย (อู่ทอง (แปล) 2551: 4-9)
ความคิ
ดของ Andrew Turton ดั
งกล่าวข้างต้นนั้
น ตั้
งอยู่บนสมมุ
ติ
ฐาน ที่
ได้
รั
บอิ
ทธิ
พลจากความคิ
ดของ Gramsci อย่างชั
ดเจน ซึ่
งได้อธิ
บายไว้ว่า การครอบง�
ำ
ทางอุ
ดมการณ์
(Hegemony) นั้
น ไม่
ว่
าจะมี
อ�
ำนาจและความรุ
นแรงสั
กเพี
ยงใดก็
ตาม
ก็
ยั
งมี
ขี
ดจ�
ำกั
ด เพราะจะเกิ
ดการต่
อสู้
ในความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจที่
ซั
บซ้
อน จนท�
ำให้
เกิ
ดพื้
นที่
ของสภาวะที่
อยู่
ระหว่
างกลางขั้
วอ�
ำนาจ (in-between space) ซึ่
งเอื้
อ
ต่
อการปฏิ
บั
ติ
การต่
างๆ ที่
สร้
างสรรค์
ในการปรั
บเปลี่
ยนความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจได้
หรื
ออาจกล่
าวได้
ว่
าเป็
นพื้
นที่
ของการต่
อรองอ�
ำนาจ โดยปฏิ
บั
ติ
การเหล่
านั้นจะ