Previous Page  75 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 75 / 238 Next Page
Page Background

74

ถกเถียงวัฒนธรรม

ทางความคิ

ดของนั

กคิดชาวอิ

ตาลี

คื

อ Antonio Gramsci (1971) อย่างชั

ดเจน ด้วย

การเสนอข้

อถกเถี

ยงที่

ไม่

ยอมรั

บการครอบง�

ำของความหมายใดความหมายหนึ่

อย่างเบ็ดเสร็จ ทั้งนี้เพราะกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มคนที่อยู่ก้นบึ้ง

ของสั

งคมสั

กเพี

ยงใดก็

ตาม ก็

ยั

งสามารถช่

วงชิ

งและต่

อรองกั

บความหมายต่

างๆ

ที่

พยายามเข้ามาครอบง�

ำได้

ข้

อถกเถี

ยงดั

งกล่

าวช่

วยเปิ

ดประเด็

นและพื้

นที่

ใหม่

ๆ ในการสร้

างความเข้

าใจ

ทางวั

ฒนธรรม ที่

ช่

วยให้

มองเห็

นความหลากหลาย และความซั

บซ้

อนของความหมาย

มากขึ้

น ขณะเดี

ยวกั

นก็

ช่

วยให้

มองเห็

นพลวั

ตของวั

ฒนธรรม ที่

หลุ

ดออกไปจาก

กรอบของรั

ฐชาติ

ได้

เพราะไม่

ได้

มองวั

ฒนธรรมเป็

นเอกภาพของระบบคุ

ณค่

า แต่

เป็

ความหมายที่

หลากหลายและเชื่

อมโยงอยู่

กั

บความสั

มพั

นธ์

ที่

ซั

บซ้

อนและไร้

พรมแดน

ส�

ำหรั

บนักวิ

ชาการไทยคนแรกๆ ที่

ได้

ทดลองน�

ำแนวความคิ

ดวั

ฒนธรรม

บริ

โภคนิ

ยมมาใช้

ศึ

กษาสั

งคมไทยในเชิ

งวาทกรรมคื

อ ยศ สั

นตสมบั

ติ

(2535)

ในหนั

งสื

อเรื่

อง

“แม่หญิงสิขายตัว ชุมชนและการค้าประเวณีในสังคมไทย”

ซึ่

ยศ สามารถใช้

แนวความคิ

ดดั

งกล่

าวมาโต้

เถี

ยงกั

บความเข้

าใจทั่

วไป ที่

มั

กจะอธิ

บาย

การค้

าประเวณี

ของหญิ

งชาวบ้

านอย่

างง่

ายๆ ว่

า มี

สาเหตุ

มาจากปั

ญหาความยากจน

ทางเศรษฐกิ

จ ด้

วยการวิ

พากษ์

ระบบทุ

นนิ

ยมและวาทกรรมของวั

ฒนธรรม

บริ

โภคนิ

ยมว่

า เป็

นต้

นเหตุ

ที่

แท้

จริ

ง เพราะการค้

าประเวณี

นั้

นเป็

นปั

ญหาทาง

วั

ฒนธรรม และการถูกครอบง�

ำทางวาทกรรม ที่

มาจากการเปลี่

ยนแปลงทาง

เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในปัจจุบัน ซึ่งก�

ำลังอยู่ในกระบวนการเปลี่ยนให้วัฒนธรรม

เป็

นสิ

นค้

ามากขึ้

น ควบคู่

ไปกั

บการขยายตั

วของวั

ฒนธรรมบริ

โภคนิ

ยม และเมื่

เศรษฐกิจชนบทถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่

งของระบบทุนนิยมมากขึ้น ชาวบ้านก็จะ

ซึ

มซั

บและรั

บวาทกรรมวั

ฒนธรรมบริ

โภคนิ

ยมตามมา จนเห็

นคล้

อยไปกั

บการเปลี่

ยน

ให้เพศกลายเป็นสินค้าด้วย ซึ่งค่อยๆ ขยายตัวกลายไปเป็นวัฒนธรรมการขายตัว

ในที่

สุ

หลั

งจากนั้

น เกษี

ยร เตชะพี

ระ (2539) ก็

ได้

น�

ำความคิ

ดบริ

โภคนิ

ยมมาอธิ

บาย

ผลที่เกิดขึ้นจากการ “บริ

โภคความเป็นไทย” ด้วยการศึกษาจากสื่อโมษณาต่างๆ