72
ถกเถียงวัฒนธรรม
ควบคู่
ไปกั
บการศึ
กษาความรู้
เกี่
ยวกั
บทรั
พยากรธรรมชาติ
ก็
ยั
งมี
งานวิ
จั
ย
อี
กจ�
ำนวนมากที่
ศึ
กษาวาทกรรมของความรู้
เกี่
ยวกั
บโรคและความเจ็
บป่
วย ซึ่
งมี
ลักษณะในการวิเคราะห์ไม่แตกต่างกันมากนั
ก เพราะจะมีลักษณะของการกีดกัน
ผู้
ป่
วยบางกลุ่
มเช่
นเดี
ยวกั
น เพื่
อไม่
ให้
เข้
าถึ
งการรั
กษาหรื
อการชดเชยผลกระทบจาก
ความเสี
ยหายต่างๆ (มาลี
2548, ธวั
ช 2548)
การศึ
กษาวั
ฒนธรรมเชิ
งวาทกรรม มั
กจะไม่
ได้
จ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะในด้
านการ
ครอบง�
ำของความรู้
ด้
านเดี
ยวเท่
านั้
น แต่
จะครอบคลุ
มด้
านของการช่
วงชิ
งความหมาย
และการต่
อรองความรู้
หรื
อด้
านของการสร้
างวาทกรรมต้
าน ซึ่
งงานวิ
จั
ยเหล่
านั้
นจะ
พยายามวิ
เคราะห์
ให้
เห็
นความเชื่
อมโยงขององค์
ประกอบส�ำคั
ญๆ หลายประการ
ด้วยกั
น (อะภั
ย 2548, มธุ
รส 2544, ธวั
ช 2548)
ประการแรกจะไม่
มองความรู้
ว่
ามี
เอกภาพลอยอยู่
ได้
อย่
างอิ
สระและตายตั
ว
แต่จะเชื่
อมโยงความรู้กั
บบริ
บทและตั
วผู้กระท�
ำการเสมอ
ประการที่
สองจะพยายามหลี
กเลี่
ยงการมองความรู้
แบบคู่
ตรงข้
าม ด้
วยการ
แสวงหาพื้นที่ที่สาม ซึ่งจะท�
ำให้เห็นความรู้ว่ามีทั้งความหลากหลาย ซับซ้อนและ
ขั
ดแย้
งกั
นเอง ที่
ผู้
กระท�
ำการจะเลื
อกผสมผสานได้
แตกต่
างกั
นไปตามบริ
บทของ
สถานการณ์ โดยไม่ปิดกั้
นความรู้ใดความรู้หนึ่
ง
ประการที่
สามจะมองความรู้
ในฐานะกระบวนการเคลื่
อนไหว เพื่
อสร้
างและ
ช่วงชิ
งความหมาย พร้อมๆ การปรั
บเปลี่
ยนความสั
มพั
นธ์เชิ
งอ�ำนาจ
ในประการสุ
ดท้
าย จะมองความรู้
เชื่
อมโยงกั
บการสร้
างอั
ตลั
กษณ์
ของ
ผู้กระท�
ำการด้วย ในความพยายามที่
จะตอบโต้การถูกกระท�ำให้เป็นอื่
น โดยแสดง
ให้เห็
นอั
ตลั
กษณ์ที่
หลากหลาย
การศึ
กษาวาทกรรมของระบอบความรู้
ส่
วนใหญ่
มั
กจะเน้
นการช่
วงชิ
ง
ความหมาย ส่
วนการศึ
กษาวาทกรรมครอบง�
ำนั้
น มั
กจะอยู่
ในงานของธงชั
ยใน
ระยะแรกๆ โดยเฉพาะการศึ
กษาวาทกรรม ว่าด้วยการนิยาม “ความเป็นไทย” แต่
ในระยะหลั
งๆ จึ
งเริ่
มมี
ความสนใจกลั
บมาศึ
กษาวาทกรรมครอบง�
ำอี
กครั้
ง ที่
ส�
ำคั
ญ