70
ถกเถียงวัฒนธรรม
ความเข้
าใจวัฒนธรรมในเชิงวาทกรรม มีนัยส�
ำคัญต่
อการวิพากษ์
วิจารณ์
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมแบบแก่
นสารนิ
ยม ที่
ครอบง�
ำอยู่
ในสั
งคมไทยตลอดมา ขณะ
ที่
ช่
วยเสริ
มสร้
างความเข้
าใจวั
ฒนธรรมว่
า มี
นั
ยทางการเมื
องของความรู้
แฝงอยู่
ด้วย โดยเฉพาะการเมื
องของรั
ฐในการนิ
ยามความรู้และความจริ
งในเรื่
องต่างๆ ซึ่
ง
ยุ
กติ
มุ
กดาวิ
จิ
ตร (2537) ได้
หยิ
บยกประเด็
นนี้
ขึ้
นมาถกเถี
ยงและวิ
พากษ์
วิ
จารณ์
ในบทความเรื่
อง “การเมื
องเรื่
องวั
ฒนธรรมในสั
งคมไทย พ.ศ.2501-2537” ด้วยการ
ชี้
ให้
เห็
นว่
า ในช่
วงเวลาดั
งกล่
าวมี
วาทกรรมวั
ฒนธรรมถูกสร้
างขึ้
นมาอย่
าง
หลากหลาย และช่
วงชิ
งความหมายของความรู้
ที่
เกี่
ยวกั
บทิ
ศทางในการพั
ฒนาสั
งคม
ไทยที่
แตกต่างกั
น เช่น วาทกรรมวั
ฒนธรรมแบบลั
ทธิ
มาร์กซ์ วาทกรรมวั
ฒนธรรม
แบบสั
งคมศาสตร์ปริ
ทั
ศน์ วาทกรรมวั
ฒนธรรมแบบศิ
ลปวั
ฒนธรรม และวาทกรรม
วั
ฒนธรรมชุ
มชนเป็
นต้
น เพื่
อท้
าทายและช่
วงชิ
งความหมายกั
บวาทกรรมวั
ฒนธรรม
แบบรัฐนิยม และในภายหลังก็มีการสร้
างวาทกรรมวัฒนธรรมแบบทุนนิยมขึ้นมา
ครอบง�
ำเพิ่
มเติ
มอี
ก
หลั
งจากถกเถี
ยงนั
ยทางการเมื
องของวั
ฒนธรรมแล้
ว ในปี
พ.ศ.2538 ยุ
กติ
ได้
เขี
ยนวิ
ทยานิ
พนธ์ปริ
ญญาโท ซึ่
งอี
ก 10 ปีต่อมาก็
ได้ตี
พิ
มพ์เป็นหนั
งสื
อ เพื่
อศึ
กษา
การเมื
องในงานการผลิ
ตความรู้
แบบหนึ่
งที่
เรี
ยกว่
าชาติ
พั
นธุ์
นิ
พนธ์
(Ethnography) ใน
แนววั
ฒนธรรมชุ
มชน (ยุ
กติ
2548) ทั้
งนี้
เพราะเขาเห็
นว่
า งานวิ
จั
ยในแนวนี้
มี
อิ
ทธิ
พล
ต่อทั้งนั
กพัฒนาเอกชนและนั
กวิชาการ ในฐานะที่เป็นการวิพากษ์วิจารณ์แนวทาง
การพั
ฒนาของรัฐ และการเสนอทางเลื
อกในการพั
ฒนา บนพื้
นฐานของศั
กยภาพ
ของชาวบ้าน
ดั
งนั้
นยุ
กติ
จึ
งพยายามจะตั้
งค�
ำถาม และตรวจสอบงานศึ
กษาประเภท
ดั
งกล่
าว ซึ่
งอ้
างที่
มาของความรู้
จากความจริ
งเชิ
งประจั
กษ์
โดยยุ
กติ
วิ
เคราะห์
ว่
า การ
ผลิ
ตความรู้
แนววั
ฒนธรรมชุ
มชนมี
ลั
กษณะเป็
นเพี
ยงความพยายามนิ
ยามความรู้
ว่าเป็นความจริ
ง บนพื้
นฐานของการสร้าง “ภาพแทนความจริ
ง” (Representation)
ขึ้นมา ด้วยความคิดแบบคู่ตรงข้ามระหว่างเมืองกับชนบทอย่างตายตัว ที่เกิดขึ้น
ในบริ
บทของการช่
วงชิ
งความหมายของการพั
ฒนาระหว่
างชนชั้
นกลางกั
บรั
ฐและ