งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
67
“วัตร์นารีวงศ์”
(นริ
นทร์ ภาษิ
ต 2544, พิ
มพ์ครั้
งแรก 2471) เพื่
อผลั
กดั
นให้ยอมรั
บ
การบวชผู้หญิ
งเป็นสามเณรี
ด้วยการหยิ
บยกเหตุ
ผลต่างๆ มาสนั
บสนุ
น พร้อมทั้
ง
วิ
พากษ์วิ
จารณ์ความคิ
ดครอบง�
ำต่างๆ ในศาสนาและสั
งคมไทย
ในช่
วงหลั
งจากปี
พ.ศ.2490 เป็
นต้
นมา ความสนใจถกเถี
ยงวั
ฒนธรรม
การเมื
องจะเปลี่
ยนแปลงไป เพราะเริ่
มรั
บความคิ
ดวิ
พากษ์
วิ
จารณ์
จากตะวั
นตก
มากขึ้
น ซึ่
งเห็
นได้
ชั
ดเจน ในแวดวงของปั
ญญาชนฝ่
ายซ้
าย เพราะจะมุ
่
งตอบโต้
กับวัฒนธรรมครอบง�ำในแง่มุมต่างๆ ของชนชั้นปกครอง ผลงานส่วนใหญ่ในช่วง
นี้
จะเป็
นงานวรรณกรรมและบทความในหนั
งสื
อพิ
มพ์
ดั
งตั
วอย่
างบทความของ
ศรี
-อินทรายุ
ทธ (อั
ศนี
พลจั
นทร) เรื่
อง “
อุตรคุรุทวีป
” (2491) ซึ่
ง เกษี
ยร เตชะพี
ระ
ได้เคยตั้งข้อสังเกตไว้ว่า เป็นตัวอย่างส�ำคัญของงานเขียนแนววัฒนธรรมการเมือง
เพื่
อตอบโต้
การปลุ
กผี
คอมมิ
วนิ
สต์
ด้
วยการตี
ความหมายใหม่
ในปรั
มปรานิ
ยายเรื่
อง
อุ
ตรคุ
รุ
ของศาสนาฮิ
นดู แทนการพูดตรงๆ ด้วยภาษาของลั
ทธิ
มาร์กซ์ ที่
อาจจะไม่
ปลอดภั
ยส�
ำหรั
บตั
วผู้
เขี
ยน ในบริ
บททางการเมื
องของยุ
คนั้
น พร้
อมๆ กั
นนั้
นก็
สามารถ
สะท้
อนนั
ยโต้
แย้
งอย่
างแยบยล ต่
อความคิ
ดเห็
นของสมเด็
จพระมงกุ
ฎเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว
ที่
ทรงเคยใช้
ปรั
มปรานิ
ยายเรื่
องเดี
ยวกั
นนี้
มาก่
อน เพื่
อชี้
ให้
เห็
นว่
าความคิ
ดสั
งคมนิ
ยม
เป็นเพียงอุดมคติที่ไม่สามารถเกิดขึ้นจริงได้ แต่อัศนี พลจันทร พยายามโน้มน้าว
ให้เห็
นว่า สั
งคมอุ
ดมคติ
เช่นนี้
เกิ
ดขึ้
นได้แล้วจริ
งๆ ในดิ
นแดนที่
อยู่เหนื
อประเทศไทย
ขึ้
นไปนั่
นเอง (Kasian 1992: 297-302)
ในช่
วงทศวรรษที่
2500 งานศึ
กษาเชิ
งวั
ฒนธรรมการเมื
องของปั
ญญาชนฝ่
าย
ซ้
ายได้
พยายามปรั
บใช้
ทฤษฎี
มาร์
กซิ
สต์
ให้
สามารถศึ
กษาสั
งคมและวั
ฒนธรรมไทย
ได้
อย่
างละเอี
ยดลึ
กซึ้
งมากขึ้
น ดั
งปรากฏในผลงานชิ้
นส�
ำคั
ญของ จิ
ตร ภูมิ
ศั
กดิ์
เรื่
อง
โฉมหน้าศักดินาไทย
(2517, พิ
มพ์ครั้
งแรก ปี 2500) ซึ่
งนอกจากจะวิ
เคราะห์
โครงสร้
างทางเศรษฐกิ
จการเมื
องของสั
งคมไทยในอดี
ตแล้
ว ยั
งเน้
นการวิ
พากษ์
วิ
จารณ์
วั
ฒนธรรมการเมื
องของระบอบศั
กดิ
นาด้
วย ในฐานะที่
เป็
นอุ
ดมการณ์
ครอบง�
ำ
(จิ
ตร ภูมิ
ศั
กดิ์
2517: 60-75) จนท�ำให้งานชิ้
นนี้
มี
ลั
กษณะ ที่
มาเข้าใจกั
นในภายหลั
ง
ว่า “การวิ
พากษ์วาทกรรม” และน่าจะสร้างผลสะเทื
อนในช่วงนั้
นอยู่บ้าง เพราะใน