66
ถกเถียงวัฒนธรรม
อ้
างถึ
งความคิ
ดของ Foucault บ้
างแล้
วก็
ตาม ส�
ำหรั
บความเข้
าใจวั
ฒนธรรมเชิ
ง
วาทกรรมจะค่อยๆ ปรากฏชั
ดเจนมากขึ้
น ในกลุ่มศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ่มต่อไป
2.5 กลุ่มศึกษาวาทกรรมในบริบทของการบริโภคและ
การช่วงชิงความหมาย
การศึ
กษาตามแนวทางของกลุ
่
มนี้
เริ่
มต้
นจากการมองวั
ฒนธรรมในเชิ
ง
การเมื
องมากขึ้
นกว่ากลุ่มอื่
นๆ โดยสามารถสาวกลั
บไปหาร่องรอยทางความคิ
ดใน
สั
งคมไทย ย้อนหลั
งกลั
บไปได้เกื
อบร้อยปีมาแล้ว ซึ่
งแสดงว่าสั
งคมไทยมี
ความคิ
ด
วิ
พากษ์
วิ
จารณ์
แฝงอยู่
บ้
างแล้
ว ดั
งปรากฏหลั
กฐานครั้
งแรกๆ ในงานของ ก.ศ.ร กุ
หลาบ
(2377-2464) เรื่
อง
อายะติวัฒน์
(2538) (พิ
มพ์
ครั้
งแรกในปี
พ.ศ.2454) ซึ่
งให้
ความสนใจ
กั
บ “ธรรมเนี
ยมราชการ” ในความหมายของวั
ฒนธรรมราชการ โดยเฉพาะ
เครื่
องหมายแสดงอ�
ำนาจต่างๆ เช่น ธง ตรา และเครื่
องแต่งกาย ด้วยการวิ
พากษ์
วิ
จารณ์
การเปลี่
ยนแปลงเครื่
องหมายเหล่
านั้
น เกี่
ยวพั
นกั
บต�
ำแหน่
งราชการต่
างๆ
ในลั
กษณะที่
เป็นประเด็
นปัญหาของวั
ฒนธรรมการเมื
องในยุ
คนั้
น
นอกจาก ก.ศ.ร กุ
หลาบ แล้ว ยั
งมี
ปัญญาชนร่วมสมั
ยอี
กคนหนึ่
งคื
อ ต.ว.ส
วรรณาโภ หรือ เทียนวรรณ (2385-2458) ซึ่งแสดงความคิดเห็นในเชิงการวิพากษ์
วิ
จารณ์
สั
งคมและการเมื
องไทย เพื่
อเสนอแนะแนวทางในการสร้
างความเจริ
ญ ด้
วย
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการเมืองให้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น และสร้างความ
เป็
นธรรมให้
กลุ
่
มชนต่
างๆ ในสั
งคมไทย ผ่
านการเขี
ยนบทความในหนั
งสื
อพิ
มพ์
รายเดือนของเขาชื่อว่า “
ตุลยวิภาคพจนกิจ
” (ระหว่าง 2443-2449) และหนั
งสือ
ชุดมี 12 เล่
มชื่อว่
า “
ศิริพจนภาค
” (2450) ซึ่งประมวลความคิดด้านวัฒนธรรม
การเมื
องไว้อย่างกว้างขวาง (สงบ สุริ
ยิ
นทร์ 2510)
ปั
ญญาชนรุ
่
นต่
อมาคื
อ นริ
นทร์
ภาษิ
ต หรื
อ นริ
นทร์
กลึ
ง (2417-2493)
ก็จัดได้ว่ามีความคิดในเชิงวัฒนธรรมการเมืองเช่นเดียวกัน เขาได้เขียนหนั
งสือชื่อ