Previous Page  65 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 65 / 238 Next Page
Page Background

64

ถกเถียงวัฒนธรรม

ที่

ช่

วยขยายความเข้

าใจวั

ฒนธรรม ในแง่

ความหมายและสั

ญลั

กษณ์

ภายใต้

บริบทของเศรษฐกิจสมัยใหม่เพิ่มเติม ด้วยการเน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่าง

ความหมายเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

และอ�ำนาจอย่

างชั

ดเจนมากขึ้

น จากเดิ

มที่

เคยเน้

นเฉพาะ

อ�

ำนาจในแง่

ของการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

และคุ

ณธรรม ก็

หั

นมาสนใจความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจ ระหว่

างรั

ฐและท้

องถิ่

นด้

วย โดย ม.ร.ว อคิ

น ได้

ตั้

งข้

อสั

งเกตว่

า งานบุ

ญบั้

งไฟ

ในปัจจุบันมีผู้เข้าร่วมมากขึ้น ทั้งชาวบ้านกลุ่มต่างๆ พ่อค้า และข้าราชการ และ

ก�

ำลั

งตกอยู่ในกระบวนการเปลี่

ยนผ่าน ที่

เรี

ยกว่าสภาวะหั

วเลี้

ยวหั

วต่อ (Liminality)

จึ

งมี

การผสมผสานสั

ญลั

กษณ์ต่างๆ ที่

ขั

ดกั

นเอง แต่ด�

ำรงอยู่ร่วมกั

นได้ ซึ่

งสะท้อน

อิ

ทธิ

พลทางความคิ

ดของ Victor Turner อย่างชั

ดเจน

จากข้

อสั

งเกตเบื้

องต้

นดั

งกล่

าว ม.ร.ว อคิ

น พยายามวิ

เคราะห์

ว่

า งานบุ

ญบั้

งไฟ

ได้

ค่

อยๆ ถูกเปลี่

ยนความหมายไป จากพิ

ธี

กรรมในท้

องถิ่

นให้

กลายเป็

นเพี

ยง

งานประเพณี

ของจั

งหวั

ด เมื่

อรั

ฐให้

ความส�

ำคั

ญกั

บการจั

ดงานเพื่

อส่

งเสริ

การท่องเที่ยวเป็นหลัก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอ�

ำนาจ

ระหว่

างรั

ฐและท้

องถิ่

น ที่

รั

ฐเข้

ามาอุ

ปถั

มภ์

ค�้

ำชูและแทรกแซงการให้

ความหมาย

ในพิ

ธี

กรรมมากขึ้

น จนท�

ำให้งานบุ

ญบั้

งไฟเพิ่

มสั

ญลั

กษณ์ของพุ

ทธศาสนา ขณะที่

ลดความเชื่

อเกี่

ยวกั

บผี

หมู่

บ้

านลงไป แต่

ในขณะที่

งานบุ

ญบั้

งไฟยั

งอยู่

ในสภาวะ

หั

วเลี้

ยวหั

วต่

อ พิ

ธี

กรรมและความเชื่

อท้

องถิ่

นผ่

านคนทรงในกลุ่

มมเหสั

กข์

ยั

งคงด�

ำรง

อยู่ได้ ในฐานะเป็นสั

ญลั

กษณ์ของความเป็นครึ่

งๆ กลางๆ ที่

สามารถเชื่

อมโยงพุ

ทธ

ผี

และสิ่

งศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

ของรั

ฐเข้าด้วยกั

น (อคิ

น 2540: 139-140)

ในช่

วงทศวรรษที่

2540 ยั

งมี

งานศึ

กษาในแนวแรกนี้

เพิ่

มเติ

มอี

ก แต่

หั

นไปสนใจ

ด้านศิ

ลปะแทนความเชื่

อและพิ

ธี

กรรม เช่น ศิ

ลปะการแสดง หรื

อศิ

ลปะบนร่างกาย

ตั

วอย่างส�

ำคั

ญตั

วอย่างหนึ่

งของงานประเภทนี้

คื

อ บทความของ ปริ

ตตา เฉลิ

มเผ่า

กออนันตกูล (2541) เรื่

อง “ร่

างในละครชาวบ้

าน” ซึ่

งศึ

กษาละครชาตรี

แก้

บน

หน้

าศาลหลั

กเมื

องในกรุ

งเทพฯ โดยมุ

งเน้

นไปที่

ประเด็

นปั

ญหา ในการให้

ความหมาย

ของนั

กแสดงละครต่

อร่

างกายของตั

วละคร ในบริ

บทของการแสดงที่

เปลี่

ยนแปลงมาสู่

การแสดงเพื่อการแก้บนมากขึ้น ก่อนหน้านี้ปริตตาเคยศึกษาหนั

งตะลุงในภาคใต้