Previous Page  62 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 62 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

61

เมื่

อได้

ศึ

กษาพิ

ธี

กรรมและความเชื่

อล้

านนาเพิ่

มเติ

มต่

อมา อานันท์

และ

ฉลาดชาย (2533) พบความเข้

าใจวั

ฒนธรรมอี

กประการหนึ่งว่

า ในบริ

บทของ

การเปลี่ยนแปลงสังคมไปสู่ระบบทุนนิยมมากขึ้น ความเชื่อในการนับถือผีกลับถูก

รื้

อฟื้นขึ้

นมาในสั

งคมเมื

อง แทนที่

จะผูกติ

ดอยู่กั

บสั

งคมชนบทเท่านั้

น ซึ่

งบ่งชี้

ว่าคติ

ความเชื่

อท้

องถิ่

นก�

ำลั

งถูกดึ

งให้

เข้

ามาอยู่

ภายใต้

ระบบเศรษฐกิ

จสมั

ยใหม่

มากขึ้

ขณะเดี

ยวกั

นก็

แสดงว่

าคติ

ความเชื่

อต่

างๆ ยั

งมี

อ�

ำนาจหรื

อศั

กยภาพในตั

วเอง ในการ

ผลิ

ตความหมายขึ้

นมาใหม่ได้ ผ่านกระบวนการทางพิธีกรรมต่างๆ ทั้

งการเข้าทรง

และการฟ้

อนผี

ในพิ

ธี

ไหว้

ผี

ปู่

ย่

า โดยเฉพาะความหมายทางศี

ลธรรมที่

อาจขั

ดกั

นและ

ตอบโต้

กั

นอยู่

ตลอดเวลา ในด้

านหนึ่

งจะตอกย�้

ำและให้

ความส�ำคั

ญกั

บความเป็

ปั

จเจกชนมากขึ้

น แต่

ในอี

กด้

านหนึ่

งก็

ยั

งเน้

นเครื

อญาติ

และความเป็

นชุ

มชน ข้

อค้

นพบ

ดั

งกล่

าวช่

วยขยายความเข้

าใจวั

ฒนธรรมให้

ขยายออกไปอี

กว่

า ความเชื่

อเรื่

อง

การนั

บถื

อผี

ไม่

ได้

มี

เพี

ยงนั

ยของคติ

ท้

องถิ่

นเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

เท่

านั้

น แต่

ยั

งแฝงพลั

อ�

ำนาจบางอย่

างในการผลิ

ตความหมายใหม่

ซ้

อนเอาไว้

ด้

วย เมื่

อปฏิ

บั

ติ

การผ่

าน

กระบวนการของพิ

ธี

กรรม ซึ่

งช่

วยยื

นยั

นอี

กครั้

งหนึ่

งว่

า คติ

ความเชื่

อจะมี

มิ

ติ

ของ

อ�

ำนาจที่

อาจขั

ดแย้งกั

นรวมอยู่ด้วยก็

ได้

ในช่วงปลายทศวรรษที่

2530 และต้นทศวรรษที่

2540 งานวิจั

ยวั

ฒนธรรม

ได้

คึ

กคั

กมากขึ้

นเป็

นพิ

เศษ เมื่

อมี

งานศึ

กษาหลายชิ้

นสนใจความเคลื่

อนไหวเกี่

ยวกั

พิ

ธี

กรรมและความเชื่

อ ทั้

งลั

กษณะใหม่

ๆ และความเชื่

อเดิ

มแต่

เปลี่

ยนรูปไปบ้

าง

ในรูปแบบของลั

ทธิ

พิ

ธี

ต่างๆ อาทิ

งานของ นิ

ธิ

เอี

ยวศรี

วงศ์ (2536ก, 2536ข, 2537)

งานของสุ

ริ

ยา สมุ

ทคุ

ปติ์

และคณะ (2539) และงานของ ม.ร.ว อคิ

น รพี

พั

ฒน์

(2540)

รวมทั้งงานของอานั

นท์ กาญจนพันธุ์ (2542) (Anan 2003) และงานของอภิญญา

(Apinya 1993) ซึ่

งศึ

กษาความเคลื่

อนไหวของกลุ่มพุ

ทธศาสนาในเมื

อง เป็นต้น

งานวิ

จั

ยเหล่

านี้

ช่

วยเสริ

มสร้

างความเข้

าใจวั

ฒนธรรม ในเชิ

งความหมายและ

สั

ญลั

กษณ์

ที่

มี

นั

ยของการวิ

พากษ์

วิ

จารณ์

ความเข้

าใจวั

ฒนธรรมก่

อนหน้

านี้

มากขึ้

ด้

วยการชี้

ให้

เห็

นว่

า ความหมายในความเชื่

อนั้

นไม่

จ�

ำเป็

นต้

องยึ

ดติ

ดอยู่

กั

บคติ

แบบใด

แบบหนึ่

ง แต่สามารถผสมผสานคติ

ต่างๆ ที่

อาจจะขั

ดกั

นเข้าไว้ด้วยกั

นได้ ทั้

งพุ

ทธ