Previous Page  59 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 59 / 238 Next Page
Page Background

58

ถกเถียงวัฒนธรรม

ในช่

วงทศวรรษที่ 2520 จะมี

แนวความคิ

ดของนั

กมานุษยวิ

ทยาคนส�

ำคั

อี

กอย่

างน้

อย 3 คน ที่

มี

ส่

วนช่

วยเสริ

มสร้

างความเข้

าใจวั

ฒนธรรมเพิ่

มเติ

ม ด้

วยการ

ผสมผสานกระแสความคิ

ดต่

างๆ ที่

กล่

าวมาข้

างต้

น จนมี

อิ

ทธิ

พลต่

อความเข้

าใจ

วั

ฒนธรรมของนั

กวิ

จั

ยชาวไทยด้

วย คนแรกคื

อ Claude Levis-Strauss นั

กมานุ

ษยวิ

ทยา

ชาวฝรั่

งเศส ผู้

เสนอให้

วิ

เคราะห์

วั

ฒนธรรมจากความหมายเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

ซึ่

งแฝงตรรก

แบบคู่ตรงข้ามเอาไว้เบื้

องหลั

ง แม้ความคิ

ดของ Levis-Strauss (1967) จะมี

ลั

กษณะ

เป็

นความคิดแบบวัฒนธรรมสากลนิยมก็ตาม แต่

การเน้

นให้

มองคนในวัฒนธรรม

ว่าเป็นผู้ผลิ

ตความหมายและสั

ญลั

กษณ์ที่

ซั

บซ้อน ก็

ช่วยให้ความเข้าใจวั

ฒนธรรม

หลุ

ดออกมาจากความคิ

ดนามธรรมที่

เลื่

อนลอยได้

ความคิ

ดดั

งกล่

าวได้

ถูกถ่

ายทอด

ให้กั

บสั

งคมไทยผ่านงาน 2 ชิ้

นของ ปริ

ตตา เฉลิ

มเผ่า กออนั

นตกูล (2527, 2533)

นั

กมานุษยวิทยาคนต่

อมาเป็

นชาวอังกฤษ แต่

ส่

วนใหญ่

จะสอนหนั

งสืออยู่

ในอเมริกาคือ Victor Turner (1969) ซึ่งมองวัฒนธรรมผ่านกระบวนการ ที่เปิดให้

ผู้

มี

ส่

วนร่

วมสามารถปรั

บเปลี่

ยนความหมายไปได้

ในช่

วงเปลี่

ยนผ่

าน แทนที่

จะมอง

วัฒนธรรมว่าเป็นตัวก�ำหนดแต่เพียงด้านเดียว ส่วนคนสุดท้ายเป็นชาวอเมริกันคือ

Clifford Geertz (1973) ซึ่

งสมาทานความคิ

ดแบบวั

ฒนธรรมสั

มพั

ทธ์

นิ

ยมอย่

างชั

ดเจน

ดังจะเห็

นได้

จากข้

อเสนอให้

มองวั

ฒนธรรมจากมุ

มมองของคนในวัฒนธรรม แต่

ก็

ขยายความออกไปอี

กว่

า คนในวั

ฒนธรรมสามารถให้

ความหมายวั

ฒนธรรม ในเชิ

สั

ญลั

กษณ์ได้หลายระดั

บอย่างซั

บซ้อน จากระดั

บพื้

นผิ

วจนถึ

งระดั

บลึ

ก ซึ่

งอาจจะ

แตกต่

างและขั

ดแย้

งกั

นเองก็

ได้

ซึ่

งช่

วยเปลี่

ยนแปลงความเข้

าใจวั

ฒนธรรมจากเดิ

ที่

เคยยึ

ดติ

ดอยู่กั

บความเป็นเอกภาพของวั

ฒนธรรมเท่านั้

อิ

ทธิ

พลทางความคิ

ดต่

างๆ เหล่

านี้

ล้

วนมี

บทบาทส�ำคั

ญ ในการเปิ

ดพรมแดน

ทางความคิ

ดให้

นั

กวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมของไทยดิ้

นรน และแสวงหาแนวทางใหม่

ๆ ในการ

ศึ

กษาวิ

จั

ยมากขึ้

น ในขณะที่

สั

งคมไทยต้

องเผชิ

ญหน้

ากั

บปั

ญหาต่

างๆ ในการถูกดึ

ให้

เข้

ามาอยู่

ในกระบวนการโลกาภิ

วั

ตน์

ซึ่

งมี

ผลให้

เกิ

ดการก่

อตั

วของแนวทางการวิ

จั

วั

ฒนธรรมเชิ

งความหมาย ที่

สนใจศึ

กษาประเด็

นต่างๆ อย่างหลากหลาย