Previous Page  58 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 58 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

57

จนกลายเป็

นข้

อจ�

ำกั

ดในการศึ

กษาวั

ฒนธรรมของกลุ

มก่

อนหน้

านี้

ดั

งกล่

าวไปแล้

จากความสนใจในบริ

บทเช่

นนี้

เอง นั

กวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมของไทย จึ

งเริ่

มมองเห็

การเปลี่ยนแปลงความหมายในวัฒนธรรมมากขึ้น เมื่อประกอบกับการผสมผสาน

ความคิ

ดของ Max Weber เสริ

มเข้าไปอี

ก ก็

ยิ่

งท�

ำให้เข้าใจความหมายในลั

กษณะ

ที่

สามารถลื่

นไหลไปได้ตามบริ

บทอี

กด้วย ทั้

งนี้

เพราะ Max Weber (1958) จะเน้น

ความส�

ำคัญของผู้คนในวัฒนธรรม ในฐานะ

ผู้กระท�ำการซึ่งมีความรู้สึกนึกคิด

จึ

งสามารถตี

ความหมายวั

ฒนธรรมให้ปรั

บเปลี่

ยนไป ตามบริ

บทของความสั

มพั

นธ์

ที่

เปลี่

ยนแปลงได้

งานวิ

จั

ยชิ้

นแรกๆ ของนั

กวิ

จั

ยชาวไทย ที่

ตระหนั

กถึ

งความส�

ำคั

ญของบริ

บท

ทางสังคมก็คือ งานของ ม.ร.ว อคิน รพี

พัฒน์

(2518) เรื่อง

สังคมไทยในสมัย

ต้นรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2325-2416

ซึ่งเขียนเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาโทในช่วงปี

พ.ศ.2510 และมาแปลและพิ

มพ์

เป็

นภาษาไทยในปี

2518 งานชิ้

นนี้

เสนอข้

อถกเถี

ยง

ที่

ส�

ำคั

ญเกี่

ยวกั

บ การวิ

เคราะห์การเปลี่

ยนแปลงระบบอุ

ปถั

มภ์และโครงสร้างชนชั้

ในสมั

ยรั

ตนโกสิ

นทร์

ตอนต้

น ด้

วยการอธิ

บายว่

า การจั

ดระเบี

ยบทางสั

งคมอย่

าง

เป็

นทางการในยุ

คนั้

น ตั้

งอยู่

บนพื้

นฐานความคิ

ดและการให้

ความหมายในสั

งคม

ที่ยึดโยงอยู่กับความคิดเรื่องบุญบารมีและยศถาบรรดาศักดิ์ ซึ่งสะท้

อนให้

เห็นถึง

ล�

ำดั

บชั้

นทางศี

ลธรรม ที่

ด�

ำรงอยู่ภายใต้บริ

บทของการควบคุ

มก�

ำลั

งคน เมื่

อบริ

บท

เปลี่

ยนแปลงไปจากการขยายตั

วของการค้

าระหว่

างประเทศ จนมี

ชาวจี

นอพยพเข้

มามากขึ้

น ก็

จะมี

ผลให้

ระบบอุ

ปถั

มภ์

เปลี่

ยนแปลงไปสู่

แบบที่

ไม่

เป็

นทางการมากขึ้

และไม่

ยึ

ดติ

ดอยู่

กั

บล�

ำดั

บชั้

นทางศี

ลธรรมอี

กต่

อไป แต่

กลั

บน�

ำไปสู่

การช่

วงชิ

อ�

ำนาจในหมู่

ชนชั้

นขุ

นนางแทน งานชิ้

นนี้

ได้

ยื

นยั

นให้

เห็

นอย่

างชั

ดเจนว่

า คนใน

สั

งคมสามารถตี

ความหมายของความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมเปลี่

ยนแปลงไปได้

ตาม

การเปลี่

ยนแปลงของบริ

บทในสั

งคมนั้

นเอง ในปี พ.ศ.2527 นิ

ธิ

เอี

ยวศรี

วงศ์ ก็

ใช้

แนวทางเดียวกันนี้วิเคราะห์ระบบคุณค่าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ว่าก่อตัวขึ้น

มาจากบริ

บทของการเปลี่

ยนแปลงทางเศรษฐกิ

จ จึ

งอาจถื

อได้ว่า งานทั้

งสองชิ้

นนี้

เป็นผลงานที่

บุ

กเบิ

กความเข้าใจความหมายของวั

ฒนธรรมที่

ยึ

ดโยงอยู่กั

บบริ

บทใน

ช่วงแรกๆ