Previous Page  57 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 57 / 238 Next Page
Page Background

56

ถกเถียงวัฒนธรรม

วั

ฒนธรรมไทยผ่

านการผสมผสานขึ้

นมาจากวั

ฒนธรรมต่

างๆ มากกว่

ามาจาก

รากเหง้

าดั้

งเดิ

มของตนเอง ขณะเดี

ยวกั

น ก็

พยายามตี

ความหมายในวั

ฒนธรรมไทย

บนพื้

นฐานของเหตุ

ผลแบบวิ

ทยาศาสตร์

แม้

แต่

พระยาอนุ

มานราชธนเอง ท่

านก็

ปรั

บเปลี่

ยนความเข้

าใจวั

ฒนธรรม

ของท่

านอยู่

เสมอ เพราะท่

านอ่

านหนังสื

อภาษาอั

งกฤษด้

านต่

างๆ รวมทั้

งด้

าน

มานุษยวิทยาร่วมสมัยอย่างกว้างขวาง จนสามารถผสมผสานความคิดขึ้นมาเป็น

ของตนเอง บางครั้

งความเข้

าใจของท่

านก็

ใกล้

เคี

ยงกั

บความคิ

ดของกลุ

มนี้

ดั

งข้

อเขี

ยน

ของท่านเรื่

อง “วั

ฒนธรรมคื

ออะไร” ใน

วัฒนธรรมและประเพณีต่างๆ ของไทย

ท่

านกล่

าวไว้

ว่

า “วั

ฒนธรรมเดิ

มของเรา ไม่

ใช่

ว่

าจะกระด้

างตายตั

วเปลี่

ยนไม่

ได้

ใจของคนเปลี่

ยนได้

วั

ฒนธรรมก็

เปลี่

ยนได้

เพราะคนสร้

าง” (อนุ

มานราชธน 2516: 18)

ซึ่

งอาจจะหมายความว่

า ท่

านก็

เห็

นด้

วยกั

บความคิ

ด ที่

มองคนเป็

นผู้

สร้

างความเข้

าใจ

หรื

อความหมายทางวั

ฒนธรรมด้วยเช่นเดี

ยวกั

ในปั

จจุ

บั

นนักวิ

จั

ยในกลุ

มนี้

ล้

วนได้

รั

บการอบรมบ่

มเพาะจากการศึ

กษา

เล่

าเรี

ยนในสั

งคมตะวั

นตกทั้

งสิ้

น จึ

งได้

รั

บอิ

ทธิ

พลจากแนวคิ

ดตะวั

นตกหลายประการ

ที่มีผลต่อความเข้าใจวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากสองกลุ่มแรก ในระยะแรกๆ

จะรั

บอิ

ทธิ

พลของความคิ

ดแบบวั

ฒนธรรมสั

มพั

ทธ์นิ

ยม (Cultural Relativism) ซึ่

งให้

ความส�

ำคั

ญกั

บการศึ

กษาวั

ฒนธรรมในเชิ

งความหมาย แต่

เน้

นว่

าความหมาย

ดังกล่าวจะเข้าใจได้เฉพาะในบริบทของวัฒนธรรมนั้

นๆ เอง กล่าวอีกนัยหนึ่

งก็คือ

ความหมายในความเข้

าใจของคนในวั

ฒนธรรม ความคิ

ดดั

งกล่

าว มั

กแพร่

หลายอยู่

ใน

การศึกษาสาขามานุษยวิทยาในตะวันตก ในช่วงทศวรรษที่ 1960-1970 ด้านหนึ่

ก็

เพราะได้

อิ

ทธิ

พลจากกระแสความคิ

ดแบบปรากฏการณ์

นิ

ยม (Phenomenology) ส่

วน

อี

กด้านหนึ่

ง ก็

ได้รั

บความคิ

ดวั

ฒนธรรมสั

มพั

ทธ์นิ

ยมของ Peter Winch (1958) ด้วย

จากอิทธิพลดังกล่าว การศึกษาวัฒนธรรมในสังคมไทยช่วงปลายทศวรรษ

ที่

2510 จึ

งเริ่

มหั

นไปให้ความสนใจ

บริบททางสังคม

และวั

ฒนธรรมมากขึ้

น แทนที่

จะมองวั

ฒนธรรมเป็

นความคิ

ดและความสั

มพั

นธ์

ในลั

กษณะทั่

วไปแบบเหมารวม ซึ่

ท�

ำให้

มองวั

ฒนธรรมเสมื

อนหนึ่

งมี

ความหมายเดี

ยวอย่

างหยุ

ดนิ่

งและตายตั

วเกิ

นไป