งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
55
ความคิดโครงสร้างและหน้าที่นิยมอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะโดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ซึ่ง
อาจจะถูกหล่อหลอมความเข้าใจดั
งกล่าวมาทางอ้อมก็
ได้
แต่
ข้
อจ�
ำกั
ดที่
ส�
ำคั
ญของกลุ
่
มศึ
กษานี้
ก็
คื
อ การสร้
างค�
ำอธิ
บายแบบเหมารวม
ในลั
กษณะที่
เป็
นกฎเกณฑ์
ทั่
วไป ด้
วยการมองวั
ฒนธรรมว่
ามี
ความหมายที่
เป็
น
เอกภาพ ทั้
งนี้
เพราะยั
งไม่
ได้
ให้
ความสนใจกั
บการแยกแยะตั
วผู้
กระท�
ำการต่
างๆ
ในวัฒนธรรม ที่อาจมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย ขณะเดียวกันก็มีความ
รู้
สึ
กนึ
กคิ
ดและสามารถตี
ความหมายของวั
ฒนธรรมแตกต่
างกั
นได้
ซึ่
งจะเริ่
มเห็
น
การปรั
บเปลี่
ยนมุ
มมองเช่นนี้
ในกลุ่มต่อไปมากขึ้
น
2.4 กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมเชิงความหมายในบริบทของสังคม
สมัยใหม่
การศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ
่
มนี้
มี
แนวทางกว้
างๆ คื
อ การให้
ความส�
ำคั
ญกั
บ
การถกเถี
ยง และการอภิ
ปรายความหมายทางวั
ฒนธรรมที่
ไม่ตายตั
ว อี
กทั้
งยั
งมอง
วั
ฒนธรรมเป็
นระบบเปิ
ด ผ่
านการแลกเปลี่
ยนและการปฏิสั
มพั
นธ์
กั
นหลากหลาย
ลั
กษณะ ซึ่
งอาจกล่
าวได้
ว่
ามี
ร่
องรอยอยู่
บ้
างแล้
วในสั
งคมไทย มาตั้
งแต่
ระยะแรกๆ ที่
ต้
องเผชิ
ญหน้
ากั
บการท้
าทายจากวั
ฒนธรรมตะวั
นตก ดั
งตั
วอย่
างงานส�
ำคั
ญชิ้
นแรก
ของ เจ้าพระยาทิ
พากรวงษ์มหาโกษาธิ
บดี
(2513) เรื่
อง “
แสดงกิจจานุกิจ
” (พิ
มพ์
ครั้
งแรกในปี
พ.ศ.2410 ด้
วยวิ
ธี
พิ
มพ์
หิ
น) ซึ่
งถกเถี
ยงความคิ
ดต่
างๆ ที่
เห็
นขั
ดแย้
งกั
น
ระหว่
างศาสนาคริ
สต์
และพุ
ทธ ด้
วยการอภิ
ปรายยกเหตุ
ผลนานานั
บปการขึ้
นมา
สนั
บสนุ
นความหมายของความคิดส�
ำคั
ญๆ ในพุ
ทธศาสนา เช่น เรื่
องกฎแห่งกรรม
เป็นต้น
ในระยะต่อๆ มา แนวทางเช่นนี้
มั
กจะพบในงานเขี
ยนของนั
กเรี
ยนนอก เช่น
จ�
ำกัด พลางกูร (2479) และ สมัคร บุราวาศ (2513 และ 2519) เมื่
อต้องเผชิญ
กั
บความแตกต่
างทางวั
ฒนธรรมของตนกั
บวั
ฒนธรรมตะวั
นตก จึ
งพยายามมอง