งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
51
ในระยะหลั
งๆ ความเข้
าใจวั
ฒนธรรม ที่
ใช้
ในการวิ
จั
ยตามแนวทางนี้
ได้
ปรั
บเปลี่
ยนไปบ้
าง แต่
ก็
ยั
งคงยึ
ดโยงอยู่
กั
บความคิ
ดหลั
กทั่
วไป ดั
งจะเห็
นได้
จาก
งานวิ
จั
ย เรื่
อง
ชุมชนหมู่บ้านลุ่มน�้ำขาน
ของ พรพิ
ไล เลิ
ศวิ
ชาและอรุ
ณรั
ตน์
วิ
เชี
ยรเขี
ยว
(2546) ซึ่งมองวัฒนธรรมชุมชนในบริบทของภูมินิเวศวัฒนธรรมหนึ่
งๆ เช่น ลุ่มน�้ำ
ที่
เป็
นพื้
นที่
ทางวั
ฒนธรรมในการปรั
บตั
วของสถาบั
นและองค์
กรชุ
มชนต่
างๆ โดย
ศึ
กษาองค์
กรเหมื
องฝายเช่
นเดี
ยวกั
บงานของอุ
ไรวรรณ แต่
จะเน้
นเครื
อข่
ายของ
ความสั
มพั
นธ์ระดั
บต่างๆ ทั้
งเครื
อญาติ
ชุ
มชน วั
ด พิ
ธี
กรรมและตลาด ในฐานะที่
ท�
ำหน้
าที่
ตอกย�้
ำความสั
มพั
นธ์
ที่
เป็
นอั
นหนึ่
งอั
นเดี
ยวกั
น และถ่
ายทอดคุ
ณค่
าความรู้
ซึ่
งช่
วยให้
ชุ
มชนสามารถปรั
บตั
วกั
บการเปลี่
ยนแปลงต่
างๆ ที่
เกิ
ดมาจากอิ
ทธิ
พล
ภายนอก
งานวิจัยชิ้นนี้ให้ความส�ำคัญกับ
พื้นที่วัฒนธรรม
ในท�ำนองใกล้เคียงกับ
แนวความคิดของนั
กมานุ
ษยวิ
ทยาอเมริ
กั
นรุ่นบุ
กเบิ
กในช่วงปี ค.ศ 1930-1940 เช่น
A. L. Kroeber (1876-1960) แต่ Kroeber จะใช้ความคิ
ดนี้
เป็นพื้
นฐานในการศึ
กษา
เปรียบเทียบ ขณะที่ พรพิไล จะใช้เป็นเพียงบริบทของพื้นที่ศึกษาเท่านั้
น จุดเน้น
ส�ำคัญอีกประการหนึ่
งในงานของพรพิไลก็คือ การมองวัฒนธรรมในเชิงพลวัต ซึ่ง
หมายถึ
งศั
กยภาพในการปรั
บตั
วของวั
ฒนธรรมต่
อการเปลี่
ยนแปลงจากภายนอก
ที่
ส่
งผลกระทบต่
อท้
องถิ่
น ด้
วยการธ�
ำรงรั
กษาส�
ำนึ
กเดิ
มไว้
ได้
ดั
งนั้
นจึ
งเกิ
ด
การเปลี่
ยนแปลงเฉพาะในรูปแบบเท่านั้
น แต่ยั
งรั
กษาแก่นแกนทางวั
ฒนธรรมไว้
งานวิ
จั
ยที่
มองวั
ฒนธรรมเป็
นภูมิ
ปั
ญญาระยะต่
อๆ มา ก็
จะเน้
นลั
กษณะพลวั
ต
มากขึ้
น แต่มองพลวั
ตแตกต่างกั
นไปบ้าง ตั
วอย่าง เช่น งานของ อาริ
ยา เศวตามร์
(2542) เรื่
อง “
ผ้าป่าข้าว: บทสะท้อนวิธีคิดของชุมชน”
ซึ่
งเริ่
มจากความพยายาม
มองวั
ฒนธรรมให้
หลุ
ดพ้
นจากภาพของความกลมกลื
น โดยหั
นมามองกลุ
่
มที่
แตกต่
าง
กั
นในชุ
มชนว่
า มี
ความสามารถใช้
กระบวนการมี
ส่
วนร่
วม ในการผลิ
ตความหมายใหม่
และสร้างเงื่อนไขของความสัมพันธ์อย่างใหม่ขึ้นมา ผ่านเครือข่ายผ้าป่าข้าว เพื่อ
แสดงว่
าพลวั
ตของวั
ฒนธรรมไม่
ได้
มี
อยู่
และสื
บทอดได้
ด้
วยตั
วเอง แต่
ขึ้
นอยู่
กั
บ
เงื่
อนไขในการมี
ส่
วนร่
วมของชุ
มชน ที่
จะผลิ
ตความหมายใหม่
ให้
เป็
นพลั
งในการ
ปรั
บตั
วกั
บการเปลี่
ยนแปลงจากภายนอก