50
ถกเถียงวัฒนธรรม
ส�
ำนึ
กร่
วม และยั
งจะเพิ่
มมิ
ติ
ในเชิ
งสถาบั
นในฐานะเป็
นภูมิ
ปั
ญญา ที่
ซั
บซ้
อนมากขึ้
น
อี
ก หากมองผ่
านงานวิ
จั
ยหลั
กๆ บางชิ้
น เช่
น งานวิ
จั
ยระบบเหมื
องฝายในภาคเหนื
อ
ของ อุ
ไรวรรณ ตั
นกิ
มยง ซึ่
งถื
อเป็นงานวิจั
ยตามแนวนิ
เวศวิทยาวั
ฒนธรรมในระยะ
แรกๆ อุ
ไรวรรณมององค์
กรจั
ดการน�้
ำในฐานะที่
เป็
นกลไกทางวั
ฒนธรรม หรื
อสถาบั
น
ที่
มี
พลวั
ต และมี
บทบาทส�
ำคั
ญในการควบคุ
มทรั
พยากรของท้
องถิ่
น เพราะเกิ
ด
จากส�ำนึ
กร่วมกันของชุมชนท้องถิ่นในการเรียนรู้ ที่จะปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้
อมที่
หลากหลาย ด้
วยการสร้
างกฎเกณฑ์
ในการจั
ดการและแก้
ไขปั
ญหา
ในการใช้
ทรั
พยากร เพื่
อช่
วยให้
ระบบเหมื
องฝายยั
งคงด�
ำรงอยู่
ได้
อย่
างต่
อเนื่
อง ทั้
งนี้
ส�
ำนึ
กร่
วมกั
นของชุ
มชน บนพื้
นฐานของการยั
งชี
พในลั
กษณะเฉพาะของระบบนิ
เวศ
หนึ่
งๆ ที่
แตกต่างกั
น ระหว่างระบบท�
ำนาหรื
อระบบท�
ำไร่ ที่
อาจจะให้ความส�
ำคั
ญ
กั
บทรั
พยากรแต่
ละชนิ
ดต่
างกั
น ยั
งสามารถผลิ
ตซ�้
ำและถ่
ายทอดอุ
ดมการณ์
ผ่
าน
พิ
ธี
กรรม ที่
ตอกย�้
ำคุ
ณค่
าเกี่
ยวกั
บความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างมนุ
ษย์
กั
บธรรมชาติ
และ
อ�
ำนาจเหนื
อธรรมชาติ
จนท�
ำให้เคารพธรรมชาติ
และสร้างความผูกพั
นในชุ
มชนให้
ร่วมมื
อกั
น (อุ
ไรวรรณ 2528 และ 2534) ตามแนวทางการอธิ
บายดั
งกล่าว จะเห็
น
ได้ว่า อุ
ไรวรรณ จะให้ความส�ำคั
ญกั
บศั
กยภาพและพลวั
ตของวั
ฒนธรรม ในฐานะ
ที่
เป็นภูมิ
ปัญญา ว่ามี
หน้าที่
ส�
ำคั
ญในการปรั
บตั
วกั
บระบบนิ
เวศ ซึ่
งสะท้อนฐานคิ
ด
แบบหน้าที่
นิ
ยมอย่างชั
ดเจน
ต่อมาเริ่
มจะมี
ความพยายามมองภูมิ
ปัญญาในเชิ
งที่
เป็นโลกทั
ศน์ ในฐานะ
มุ
มมองจากภายใน แต่
แทนที่
จะมองโลกทั
ศน์
อย่
างนามธรรมล้
วนๆ ก็
จะเน้
นโลกทั
ศน์
ด้านนิ
เวศวิ
ทยาของชุ
มชนกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ โดยเชื่
อมโยงกั
บโครงสร้างสั
งคม และการ
จั
ดการทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่
ออธิ
บายความเปลี่
ยนแปลงที่
ขั
ดกั
นในความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างมนุ
ษย์
กับธรรมชาติ
ดั
งตัวอย่
างในงานวิ
จั
ยของ ปิ
่
นแก้
ว เหลื
องอร่
ามศรี
(2539) เรื่
อง “
ภูมิปัญญา: ระบบนิเวศวิทยาชนพื้นเมือง ศึกษากรณีชุมชน
กะเหรี่ยงในป่าทุ่งใหญ่นเรศวร
” ซึ่
งมองโลกทั
ศน์
เป็
นระบบคิ
ดทางวั
ฒนธรรม
ที่
ผสมผสานภูมิ
ปั
ญญากั
บคุ
ณธรรมที่
เกี่
ยวข้
องกั
บความสั
มพั
นธ์
กั
บธรรมชาติ
เข้
าไว้
ด้วยกัน และสามารถสืบทอดต่อมา ภายใต้เงื่อนไขของระบบการผลิตแบบยังชีพ
ซึ่
งจะเปลี่
ยนแปลงไป หากถูกกระทบจากรั
ฐและระบบเศรษฐกิ
จจากภายนอก