งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
47
แม้
กระแสความคิ
ดดั
งกล่
าวจะมี
ที่
มาในบริ
บทของสั
งคมไทยอยู่
แล้
ว แต่
ก็
สอดรั
บกั
บกระแสที่
เกิ
ดขึ้
นในสั
งคมตะวั
นตกด้
วยเช่
นกั
น เพราะคล้
องจองกั
บความคิ
ด
ของนักมานุ
ษยวิ
ทยาชาวอเมริ
กั
นชื่
อ Robert Redfield (1897-1958) ซึ่
งเสนอให้
นั
กมานุษยวิทยาศึกษาสังคมชาวบ้านเพิ่มเติมจากที่เคยเน้นศึกษาแต่สังคมชุมชน
บุ
พกาล โดยตั้
งข้
อสั
งเกตว่
ามี
ความตึ
งเครี
ยดแฝงอยู่
ระหว่
างวั
ฒนธรรมหลวง (Great
Tradition) ของสั
งคมรั
ฐที่
ซั
บซ้อน กั
บวั
ฒนธรรมท้องถิ่
น (Little Tradition) ของชุ
มชน
ชาวบ้
าน (Peasant Community) เพราะวั
ฒนธรรมหลวงก�ำลั
งพยายามขยายอิ
ทธิ
พล
ครอบง�
ำวั
ฒนธรรมชาวบ้านอยู่ตลอดเวลา
ในบริ
บทของกระแสการเผชิ
ญหน้
ากั
น ระหว่
างวั
ฒนธรรมหลวงและ
วั
ฒนธรรมชาวบ้
านนี้
เอง ที่
ผลั
กดั
นให้
เกิ
ดการค้
นคว้
าวิ
จั
ยอย่
างต่
อเนื่
อง ในงานของ
นั
กวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมท้องถิ่
นคนส�
ำคั
ญ คื
อ ศรี
ศั
กร วั
ลลิ
โภดม ผู้ซึ่
งน�
ำวิ
ชาโบราณคดี
และมิ
ติ
ทางประวั
ติ
ศาสตร์
มาช่
วยในการศึ
กษาชี
วิ
ตวั
ฒนธรรมของชุ
มชนชาวบ้
าน
โดยเฉพาะในภาคอี
สาน จนสามารถอธิ
บายความเคลื่
อนไหวและศั
กยภาพของ
วั
ฒนธรรมในด้
านการผลิ
ตและการด�
ำรงชี
พ บนพื้
นฐานความเชื่
อและความสั
มพั
นธ์
ร่
วมกั
น ของกลุ
่
มชนหลากหลายชาติ
พั
นธุ
์
ที่
ช่
วยให้
ท้
องถิ่
นสามารถปรั
บตั
วกั
บ
การเปลี่
ยนแปลงของระบบนิ
เวศ ในช่
วงเวลาต่
างๆ ที่
ผ่
านมาในประวั
ติ
ศาสตร์
ดั
งจะเห็
นได้ชั
ดเจนในหนั
งสื
อเรื่
อง “
แอ่งอารยธรรมอีสาน
” (2533)
กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นเช่นนี้มีลักษณะร่วมกันหลายประการด้วยกัน
เริ่
มตั้
งแต่
มี
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมคล้
ายคลึ
งกั
น และแตกต่
างจากลุ
่
มศึ
กษาแรก
อย่างชั
ดเจน กล่าวคื
อ แทนที่
จะเข้าใจว่าวั
ฒนธรรมเป็นคุ
ณค่าพื้
นฐานดั้
งเดิ
ม หรื
อ
เป็
นรากเหง้
าของกลุ
่
มชน ที่
สามารถด�
ำรงอยู่
ได้
อย่
างมั่
นคงและไม่
เปลี่
ยนแปลง
ก็
จะหั
นมามองว่
า
วัฒนธรรมเป็นส�ำนึกร่วมกัน
ที่
ยึ
ดโยงอยู่
กั
บโครงสร้
างและ
ความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคม ซึ่
งช่
วยผนึ
กให้
ส่
วนต่
างๆ ของสั
งคมอยู่
รวมกั
นได้
อย่
างเป็
น
ระบบและกลมกลืน ความเข้
าใจวัฒนธรรมเช่
นนี้ยังมีส่
วนอย่
างส�
ำคัญในการมอง
วั
ฒนธรรมในฐานะที่
เป็
น
กลไกทางสังคม
ซึ่
งเห็
นอย่
างชั
ดเจนจากหนั
งสื
อของพั
ทยา
สายหู เรื่
อง “ความเข้าใจเกี่
ยวกั
บกลไกทางสั
งคม” (พั
ทยา 2516)