Previous Page  47 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 47 / 238 Next Page
Page Background

46

ถกเถียงวัฒนธรรม

ต่างๆ ของประเทศไทย และบั

นทึ

กเรื่

องราวและลั

กษณะ “แปลกประหลาด” ของ

กลุ่

มชนชาติ

ต่

างๆ เช่

น บั

นทึ

กของขุ

นประชาคดี

กิ

จ (2428) เรื่

อง “ว่

าด้

วยประเภทของ

คนป่

าหรื

อข้

าฝ่

ายเหนื

อ” และ บั

นทึ

กของหลวงบริ

พั

นธุ

รารั

ตน์

(Boriphanturarat 1923)

เรื่

อง “ชาติ

แม้

ว” นอกจากนี้

ยั

งมี

บั

นทึ

กท�

ำนองเดี

ยวกั

นนี้

อี

กจ�

ำนวนมาก และภายหลั

ได้

ถูกน�

ำมาพิ

มพ์

รวมกั

นในหนั

งสื

อชุ

ด “

ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ

” ของกรมศิ

ลปากร

ซึ่

งธงชั

ย วิ

นิ

จจะกุ

ลได้

วิ

เคราะห์

ไว้

อย่

างน่

าสนใจว่

า บั

นทึ

กเหล่

านั้

นเป็

นความพยายาม

ของชนชั้

นน�

ำจากส่

วนกลาง ในการแยกแยะกลุ

มชนต่

างๆ ในชาติ

เสมื

อนเป็

“คนอื่

น” ที่

อยู่

ในประเทศเดี

ยวกั

น แต่

แตกกั

นตามระดั

บวิ

วั

ฒนาการของความเจริ

จากคนป่า มาเป็นคนบ้านนอก ส�

ำหรั

บคนกรุ

ง ซึ่

งมี

ความเจริ

ญมากกว่า จึ

งควรมี

อ�

ำนาจปกครอง (Thongchai 2000)

หลังจากปี พ.ศ.2510 งานวิจัยของกลุ่มท้องถิ่นนี้

จะได้รับอิทธิพลความคิด

ทางวัฒนธรรมจากตะวันตกมากขึ้น เพราะมีนั

กวิชาการอาชีพมาสืบสานต่อ ด้วย

การไปร�่ำเรียนวิชามานุษยวิ

ทยามาจากประเทศตะวันตกโดยตรง จนได้รับอิทธิ

พล

ของต่างประเทศชั

ดเจน คนส�

ำคั

ญในรุ่นแรกนี้

ได้แก่ สนิ

ท สมั

ครการ พั

ทยา สายหู

และสุ

เทพ สุ

นทรเภสั

ช ทั้

งสามท่านล้วนให้ความส�

ำคั

ญกั

บการศึ

กษากลุ่มชาติ

พั

นธุ์

ในท้องถิ่

นต่างๆ ในวิ

ทยานิ

พนธ์ปริ

ญญาเอก สนิ

ท สมั

ครการศึ

กษาสั

งคมไทยพวน

ส่

วนพั

ทยา สายหู ศึ

กษาชุ

มชนมุ

สลิ

มในภาคใต้

และสุ

เทพ สุ

นทรเภสั

ชศึ

กษาสั

งคม

มุ

สลิ

มในเชี

ยงใหม่

ส�

ำหรั

บการวิ

จั

ยภาคสนามต่

อๆ มาจะเน้

นการศึ

กษาสั

งคมชาวบ้

าน

ดั

งตั

วอย่

างหนั

งสื

อของสุ

เทพ สุ

นทรเภสั

ช เรื่

อง

“สังคมวิทยาหมู่บ้านภาคตะวันออก

เฉียงเหนือ”

(2511/2548) ซึ่

งนอกจากจะเน้

นความแตกต่

างทางวั

ฒนธรรมใน

หมู่

บ้

านอี

สานกั

บภาคกลางแล้

ว ยั

งชี้

ให้

เห็

นถึ

งความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ

ที่

อาศั

ยอยู่

ร่

วมกั

นอย่

างผสมผสานในท้

องถิ่

นด้

วย นั

ยส�

ำคั

ญของหนั

งสื

อเล่

มนี้

จึ

สะท้

อนถึ

งการสานต่

อกระแสความคิ

ดท้

องถิ่

น ที่

ต้

องการชี้

ความแตกต่

างและ

การขั

ดกั

น ระหว่

างวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นและวั

ฒนธรรมของชาติ

โดยเฉพาะการเชื่

อมโยง

กั

บความคิ

ดอาณานิ

คมภายใน ที่

สะท้

อนถึ

งความพยายามของวั

ฒนธรรมส่

วนกลาง

ในการครอบง�ำท้องถิ่

นต่างๆ ภายในรั

ฐชาติ