งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
49
วั
ฒนธรรมทั้
งสอง จึ
งแสดงให้
เห็
นว่
า การศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ
่
มนี้
ไม่
ได้
ยึ
ดติ
ดมิ
ติ
หรือกรอบอย่างตายตัว แต่ให้ความส�
ำคัญกับการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์
ของวั
ฒนธรรม ซึ่
งเน้นถึ
งความเคลื่
อนไหวและพลวั
ตของวั
ฒนธรรม ในฐานะที่
เป็น
พลังหรื
อศักยภาพ ที่
ช่
วยให้
สามารถปรั
บตั
วกั
บระบบนิ
เวศต่
างๆ ได้
ภายหลังจึ
ง
ปรั
บเปลี่
ยนการมองวั
ฒนธรรมในแง่นี้
ว่าเป็นภูมิ
ปัญญาในระยะต่อมา
เมื่
อมี
การปรั
บเปลี่
ยนมุ
มมองส�
ำนึ
กร่
วม ในนั
ยที่
เป็
นภูมิ
ปั
ญญามากขึ้
น
การศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ่มนี้
ก็
ได้แตกตั
วออกไปอี
กหลายแนวทางด้วยกั
น
แนวทางแรกอาจจั
ดอยู่
ใน “
แนวนิเวศวัฒนธรรม
” ซึ่
งเน้
นพลั
งหรื
อ
ศั
กยภาพของวั
ฒนธรรม ในแง่
ที่
เป็
นส�
ำนึ
กร่
วมกั
นของชุ
มชนหรื
อหน่
วยทางสั
งคม
ในระดั
บท้องถิ่
น ที่
สามารถผสมผสานกั
นอย่างกลมกลื
นภายใน จนกลายเป็นพลั
ง
ทางภูมิ
ปั
ญญา ในการก่
อตั
วขึ้
นเป็
นกลไกเชิ
งสถาบั
น ที่
ประกอบด้
วยกฎเกณฑ์
และองค์กรทางสั
งคม ซึ่
งมี
หน้าที่
ส�
ำคั
ญในการปรั
บตั
วกั
บระบบนิ
เวศ ที่
เป็นเสมื
อน
สภาวะแวดล้อมของหน่วยท้องถิ่
นนั้
น
แนวทางนี้
ได้
รั
บอิ
ทธิ
พลทางความคิ
ด แนวนิ
เวศวั
ฒนธรรม (Cultural Ecology)
จากส�ำนั
กมานุษวิทยาอเมริกัน ซึ่งมีพื้นฐานความคิดแบบหน้าที่นิยมอย่างชัดเจน
จึ
งมั
กจะเน้นเอกภาพและความกลมกลื
นภายในหน่วย จนอาจท�
ำให้ละเลยมิ
ติ
ของ
ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
รวมทั้
งมิ
ติ
ทางประวั
ติ
ศาสตร์
ที่
เคยเป็
นองค์
ประกอบ
ส�ำคัญของกลุ่มศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นกลุ่มนี้ไปบ้าง แต่ในระยะหลังจะหันมาให้
ความส�
ำคั
ญกั
บองค์
กรทางสั
งคม ในลั
กษณะที่
สามารถขยายตั
วในรูปของเครื
อข่
าย
มากขึ้
น แนวทางนี้
มี
อิ
ทธิ
พลต่
อนั
กพั
ฒนาชุ
มชนขององค์
กรพั
ฒนาเอกชนอย่
างมาก
เพราะมี
การน�
ำไปปรั
บใช้
ในการพั
ฒนาอย่
างกว้
างขวาง จนกลายเป็
นกระแสความคิ
ด
หลั
กในการพั
ฒนาอยู่
ช่
วงเวลาหนึ่ง ที่
เรี
ยกว่
า
แนววัฒนธรรมชุมชน
ซึ่
งเน้
น
ศั
กยภาพในภูมิ
ปั
ญญาของชุ
มชน พื้
นฐานความเชื่
อ และความสั
มพั
นธ์
ในชุ
มชน
ในฐานะที่
เป็นพลั
งในพั
ฒนาและการจั
ดการแก้ไขปัญหาของตนเอง
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมตามแนวทางนี้
แม้
จะเน้
นวั
ฒนธรรมชุ
มชน เช่
นเดี
ยวกั
บ
การศึ
กษาในกลุ
่
มแรก แต่
จะไม่
ได้
เน้
นเฉพาะระบบคุ
ณค่
าเท่
านั้
น หากจะสนใจ