Previous Page  49 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 49 / 238 Next Page
Page Background

48

ถกเถียงวัฒนธรรม

ความเข้

าใจดั

งกล่

าวคล้

ายคลึ

ง และอาจได้

รั

บอิ

ทธิ

พลอยู่

บ้

าง จากแนวคิ

ดทาง

ทฤษฎี

แนวโครงสร้

างและหน้

าที่

นิ

ยมของ Emile Durkheim และ A.R. Radcliffe-Brown

ที่

แพร่

หลายในสั

งคมตะวั

นตกในช่

วงระหว่

างปี

ค.ศ 1930-1970 ส�

ำหรั

บ Durkheim แล้

ถือว่าเป็นนั

กคิดคนส�

ำคัญที่มองวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นส�

ำนึ

กร่วมกัน (Collective

Consciousness) ในขณะที่

Radcliffe-Brown จะเน้

นชี

วิ

ตอิ

สระของสั

งคมท้

องถิ่

น ด้

วย

การให้

เหตุ

ผลว่

า สั

งคมขนาดเล็

กๆ นั้

นมี

กลไกทางวั

ฒนธรรมและสถาบั

นทางสั

งคม

ต่างๆ ที่

ท�

ำหน้าที่

ในการจั

ดการและรั

กษาดุ

ลยภาพของระบบสั

งคมของตนเอง แต่

แทนที่

กลุ่

มศึ

กษาวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นในสั

งคมไทยจะเน้

นความเป็

นเอกภาพด้

านเดี

ยว

ตามแนวทางของทฤษฎี

แนวโครงสร้

างและหน้

าที่

นิ

ยม ก็

กลั

บมุ

งความสนใจไปที่

การผสมผสานกั

นของวั

ฒนธรรมและชาติ

พั

นธุ์ที่

หลากหลายในท้องถิ่

การที่กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นในสังคมไทย ให้ความส�

ำคัญอย่างมาก

กั

บความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์

ท�

ำให้

สามารถวิ

เคราะห์

ได้

ว่

า กระบวนการก่

อตั

ของกลุ่มการศึ

กษานี้

ไม่ได้รั

บอิ

ทธิ

พลจากความคิ

ดตะวั

นตกด้านเดี

ยวทั้

งหมด หาก

ยั

งหล่

อหลอมขึ้

นมาจากเงื่

อนไขส่

วนหนึ่

งในบริ

บทของสั

งคมไทยเองด้

วย โดยเฉพาะ

บริ

บทของกระแสความไม่

ลงรอยกั

นหรื

อการขั

ดกั

นระหว่

างวั

ฒนธรรมหลวงและ

วั

ฒนธรรมท้

องถิ่

น ซึ่

งด�

ำรงอยู่

อย่

างต่

อเนื่

องในสั

งคมไทย จากการผลั

กดั

นความคิ

ชาติ

นิ

ยมขึ้

นมา หลั

งการเปลี่

ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 เป็นต้นมา

จากจุ

ดเน้

นในความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ

นี้

เอง ท�

ำให้

การศึ

กษา

วั

ฒนธรรมกลุ

มนี้

มี

การผสมผสานความคิ

ดวั

ฒนธรรมขึ้

นมาใหม่

อย่

างน่

าสนใจ

เพราะสามารถผสมความคิ

ดต่

างๆ ที่

ขั

ดแย้

งกั

นตามความเข้

าใจในแบบตะวั

นตกให้

อยู่ร่วมกั

นได้ ดั

งจะเห็

นได้อย่างชั

ดเจนในงานของ ศรี

ศั

กร วั

ลลิ

โภดม ในการเลื

อก

รวมแนวความคิ

ดวิ

วั

ฒนาการกั

บความหลากหลายทางวั

ฒนธรรมเข้

าด้

วยกั

น ทั้

งๆ ที่

ในความคิ

ดทางตะวั

นตกจะถื

อว่

า แนวความคิ

ดวิ

วั

ฒนาการสั

งกั

ดมิ

ติ

สากลนิ

ยม

ทางวั

ฒนธรรม ซึ่งโต้

แย้

งกั

บความคิดเรื่

องความหลากหลายทางวั

ฒนธรรม ที่

อยู่

ภายใต้มิติสัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม แต่งานของ ศรีศักร สามารถรวมความคิด

ทั้งสองเข้าด้วยกันในการวิจัยได้ โดยไม่มีปัญหาขัดแย้งในด้านมิติของความเข้าใจ