Previous Page  46 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 46 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

45

ในช่

วงระหว่

างปี

พ.ศ.2480-2510 เช่

น ส. (แสน) ธรรมยศ ชาวล�

ำปาง ผู้

เป็

บรรณาธิ

การวารสาร โยนก และสงวน โชติ

สุ

ขรั

ตน์

ซึ่

งรวบรวมและจั

ดพิ

มพ์

ประเพณี

และต�

ำนานท้

องถิ่

นต่

างๆ จ�

ำนวนมาก เป็

นต้

น แต่

ผู้

ที่

มี

ผลงานโดดเด่

นในการรวบรวม

วั

ฒนธรรมประเพณี

ของกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ต่

างๆ ก็

คื

อ บุ

ญช่

วย ศรี

สวั

สดิ์

ซึ่

งเขี

ยนหนั

งสื

เรื่อง “

30 ชาติในเชียงราย

” (2493) และหนั

งสือเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่นของ

ชาวไทยนอกประเทศอี

กจ�

ำนวนหนึ่

ง ผลงานเหล่

านี้

บ่

งบอกถึ

งความเข้

าใจวั

ฒนธรรม

ว่

า มี

ลั

กษณะเป็

น “ความรู้

สึ

กนึ

กคิ

ดร่

วมกั

น” ของผู้

คนในท้

องถิ่

น ที่

สั

มพั

นธ์

เชื่

อมโยง

อยู่กั

บสั

งคม ในเชิ

งที่

อาจจะเรี

ยกได้ว่ามี

“หน้าที่

” ในการธ�

ำรงรั

กษาความต่อเนื่

อง

ด้วยการแก้ไขวิ

กฤตการณ์ต่างๆ ในชี

วิ

ตของผู้คนในสั

งคม

งานของจิ

ตร ภูมิ

ศั

กดิ์

(2519) ก็

อาจจะจั

ดอยู่

ในกลุ

มนี้

ด้

วย โดยเฉพาะหนั

งสื

เรื่

อง “

ความเป็นมาของค�ำสยาม ไทย ลาวและขอม

” ซึ่

งเน้

นลั

กษณะร่

วม

ของกลุ่

มชาติพั

นธุ

ต่

างๆ ในฐานะเป็

นพลั

งส�ำคั

ญของแต่

ละกลุ

ม ที่

เป็

นพื้

นฐานใน

การจั

ดความสั

มพั

นธ์

กั

บกลุ

มอื่

นๆ อย่

างซับซ้

อน จิ

ตรจะให้

ความส�

ำคั

ญกับความ

หลากหลายทางวั

ฒธรรม และการผสมผสานของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ ท�

ำนองเดี

ยวกั

กั

บงานของบุ

ญช่

วย แต่

แทนที่

จะศึ

กษาด้

วยจารี

ตท้

องถิ่

นล้

วนๆ จิ

ตรจะเริ่

มน�ำความคิ

ต่

างประเทศมาผสมผสานบ้

าง ด้

วยการอ้

างอิ

งงานของชาวต่

างประเทศ เช่

น Bernatzik

(1958) เป็นต้น

แม้

ว่

าแรงจูงใจในการศึกษาวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นและชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ แรกเริ่ม

อาจจะต้

องการเผยแพร่

ประเพณี

ของตนเองให้

คนถิ่

นอื่

นได้

รู้

จั

ก แต่

ก็

อาจจะแฝง

ความต้

องการที่

จะชี้

ให้

เห็

นถึ

งความแตกต่

างและการขั

ดกั

นกั

บวั

ฒนธรรมชาติ

ที่

ก�ำลั

ขยายอิ

ทธิ

พลเข้

ามามากขึ้

นจากส่

วนกลางอยู่

ด้

วย ขณะที่

วั

ฒนธรรมชาติ

จะเน้

นความ

เป็

นอั

นหนึ่

งอั

นเดี

ยวกั

นของประชากร วั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นจะเน้

นถึ

งการอยู่

ร่

วมกั

ของความหลากหลายทางวั

ฒนธรรม ที่

ประกอบไปด้วยกลุ่มคนต่างชาติ

พั

นธุ์

จารี

ตของการศึ

กษากลุ

มชาติ

พั

นธุ

ในท้

องถิ่

นดั

งกล่

าว นั

บว่

าแตกต่

างจาก

จารี

ตเดิ

มที่

เคยมี

อยู่ในสั

งคมไทยก่อนหน้านั้

น (ก่อนปี พ.ศ.2480) ซึ่

งมั

กจะอยู่ในรูป

ของบั

นทึ

กการเดิ

นทางของกลุ่

มชนชั้

นน�

ำในส่

วนกลาง ที่

ท่

องเที่

ยวไปในดิ

นแดนส่

วน