44
ถกเถียงวัฒนธรรม
อย่
างไรก็
ตาม กลุ
่
มศึ
กษาวั
ฒนธรรมนี้
บางส่
วน อาจจะมี
ความพยายาม
ปรั
บแก้
ข้
อจ�
ำกั
ดเหล่
านี้
อยู่
บ้
างแล้
ว แต่
การยึ
ดติ
ดอยู่
ในกระบวนทั
ศน์
ทางวั
ฒนธรรม
เช่นนี้
การแก้ไขจึ
งท�
ำได้เฉพาะในส่วนย่อยๆ เท่านั้
น ยั
งต้องอาศั
ยการถกเถี
ยงและ
แลกเปลี่
ยนความคิ
ดเห็
นกั
บกลุ
่
มศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ
่
มอื่
นๆ ที่
จะกล่
าวถึ
งต่
อไป
อีกมาก จึงจะสามารถมองเห็นความเข้
าใจวัฒนธรรมที่หลากหลายและเปิดกว้
าง
มากกว่านี้
ได้
2.3 กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นและความหลากหลาย
ทางชาติพันธุ์
การศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ
่
มนี้
มี
ที่
มาเริ่
มแรกอยู่
ในบริ
บทของสั
งคมไทยมา
ก่
อนเช่
นกั
น แต่
ในระยะแรกอาจจะจ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะในหมู่
ผู้
สนใจศึ
กษาระดั
บท้
อง
ถิ่
น ในแบบสมั
ครเล่
นเท่
านั้
น ดั
งจะเห็
นได้
ชั
ดเจนในกรณี
ของภาคเหนื
อ จากตั
วอย่
าง
งานเขี
ยนเรื่
อง “
ผีของชาวลานนาไทยโบราณ
” ซึ่
งเรี
ยบเรี
ยงเขี
ยนขึ้
นโดย
นายแก้
วมงคล ชั
ยสุ
ริ
ยั
นต์
ผู้
สื
บสกุ
ลมาจากเจ้
าผู้
ครองนครน่
าน แต่
มาเป็
นข้
าราชการ
ประจ�
ำอยู่ในจั
งหวั
ดเชี
ยงราย และได้มี
โอกาสพบเห็
นการท�
ำพิ
ธี
ไหว้ผี
เมื
องเชี
ยงราย
(ผี
นาค) ครั้
งสุ
ดท้ายด้วยตั
วเองในปี
พ.ศ.2462 การท�
ำพิ
ธี
ครั้
งนั้
นมี
วั
ตถุ
ประสงค์เพื่
อ
สะเดาะเคราะห์
เมื่
อเกิ
ดอหิ
วาตกโรคระบาดขึ้
น หลั
งจากที่
เลิ
กท�
ำพิ
ธี
นี้
ไปแล้
ว
ในปี
พ.ศ.2460 นายแก้
วมงคลได้
บั
นทึ
กการท�
ำพิ
ธี
ดั
งกล่
าวไว้
ทั
นที
ในเบื้
องต้
น ต่
อมา
ในปี พ.ศ.2467 เมื่อย้ายมาอยู่ในกรุงเทพ จึ
งเริ่มเขี
ยนอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม
ที
ละเล็
กที
ละน้อย จนแล้วเสร็
จในปี พ.ศ.2485 และได้ตี
พิ
มพ์เป็นหนั
งสื
องานศพใน
กรุ
งเทพ (แก้
วมงคล 2486) ทั้
งนี้
คงจะเกิ
ดจากผู้
เขี
ยนภูมิ
ใจประเพณี
ท้
องถิ่
นของตน ที่
มี
ส่
วนส�
ำคั
ญในการแก้
ปั
ญหาความระส�่
ำระสายได้
และอยากเผยแพร่
ความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ด
นั้
นให้คนต่างถิ่
นได้รั
บรู้
ความรู้สึ
กเช่นนี้
คงจะค่อยๆ ก่อตั
วขึ้
นในหมู่ผู้มี
การศึ
กษา จนผลั
กดั
นให้เกิ
ด
ความพยายามเขี
ยนเกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรมประเพณี
ในท้
องถิ่
นของตน ซึ่
งมี
อยู่
หลายคน