งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
43
ความสนใจเฉพาะความซั
บซ้
อนขององค์
ประกอบเชิ
งโครงสร้
างความคิ
ดภายใน
วัฒนธรรม แต่
กลับมองข้
ามการให้
ความหมายที่แตกต่างกันของคนในวัฒนธรรม
นั้
นเอง แม้จะอ้างว่าสนใจความคิ
ดของคนในวั
ฒนธรรมก็
ตาม แต่ก็
ไม่ได้มองคนใน
ในฐานะที่
เป็
นผู้
กระท�
ำการ ที่
มี
ความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดเป็
นของตนเอง เพราะภาพรวมทั่
วไป
ของวั
ฒนธรรมที่
น�ำเสนอนั้
น มี
ลั
กษณะเป็
นเพี
ยงภาพตั
วแทนความจริ
ง ด้
วยการ
เน้
นให้
เห็
นเฉพาะด้
านของความแตกต่
างจากวั
ฒนธรรมภายนอก มากกว่
าความ
ขัดแย้งแตกต่างภายใน จนกลายเป็นเพี
ยงการติ
ดกั
บดั
กของคู่ตรงข้าม ในลั
กษณะ
ของคู่ความขัดแย้งหรื
อการต่อสู้กั
น ระหว่างวั
ฒนธรรมภายในกั
บภายนอกเท่านั้
น
ข้
อจ�
ำกั
ดอี
กประการหนึ่งก็
คื
อ การเน้
นลั
กษณะอิ
สระของวั
ฒนธรรม ใน
ฐานะที่
เป็
นตั
วก�
ำหนดมากเกิ
นไป จึ
งมั
กขาดความสนใจที่
จะมองความเชื่
อมโยง
กับโครงสร้างและความสัมพันธ์ทางสังคมด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังไม่สนใจ
ศึ
กษาการแลกเปลี่
ยนระหว่
างวั
ฒนธรรมเท่
าที่
ควร จนมองไม่
เห็
นความแตกต่
าง
หลากหลาย และความสัมพั
นธ์ที่
อาจขัดแย้งกั
นของผู้คนในวั
ฒนธรรมเอง และแม้
จะอ้างถึงโครงสร้างอยู่บ้าง ก็มีนัยเพียงโครงสร้างของความคิดหรือโครงสร้างของ
สั
งคมที่
ถูกวั
ฒนธรรมก�
ำหนดเท่านั้
น
ในเชิ
งวิ
ธี
วิ
ทยาก็
จะไม่
สนใจเงื่
อนไขและบริ
บทต่
างๆ โดยเฉพาะบริ
บทของ
ความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคม ทั้
งภายในและภายนอก ซึ่
งหลายส่
วนจะเกี่
ยวข้
องกั
บ
โครงสร้างอ�
ำนาจในสังคม และมีส่วนอย่างส�
ำคัญ ทั้งในการผลิตสร้างวัฒนธรรม
พร้อมๆ ไปกั
บการครอบง�
ำทางวั
ฒนธรรม แทนที่
จะมองวั
ฒนธรรมว่าเป็นความคิ
ด
พื้
นฐานที่
มี
อยู่
ก่
อนแล้
วเท่
านั้
น จึ
งท�ำให้
ยั
งมองวั
ฒนธรรมแบบตายตั
วมากเกิ
นไป
แม้
บางส่
วนจะอ้
างว่
าสนใจพลวั
ตของวั
ฒนธรรม แต่
ก็
มี
นั
ยเพียงความสามารถใน
การปรับตัวและสืบทอดลักษณะพื้นฐานต่อไปเท่านั้
น เพราะยังไม่ได้มองไปไกลถึง
เรื่
องของการผลิ
ตสร้างความรู้หรื
อความหมายใหม่ หรื
อการช่วงชิ
งความหมาย ใน
ความพยายามจะปรั
บเปลี่
ยนความสั
มพั
นธ์เชิ
งอ�
ำนาจระหว่างผู้คนต่างๆ ที่
มี
ความ
สั
มพั
นธ์เชื่
อมโยงกั
นอยู่