40
ถกเถียงวัฒนธรรม
การรวมตั
วกั
นเพื่
อยื
นหยั
ดต่
อสู้
กั
บการครอบง�
ำจากภายนอกที่
มุ
่
งเอาเปรี
ยบ และช่
วย
รั
กษาความมี
อิ
สระของตนเองตลอดมา (ฉั
ตรทิ
พย์
2540) ดั
งนั้
น ฉั
ตรทิ
พย์
จึ
งเสนอให้
ศึ
กษาวั
ฒนธรรมชุ
มชน ผ่
านการวิ
เคราะห์
ทางประวั
ติ
ศาสตร์
เพื่
อเข้
าใจกระบวนการ
ก่
อรูปของแก่
นแกนทางความคิดและโครงสร้
างความสัมพันธ์ที่อยู่
ในพลังดังกล่
าว
พร้
อมๆ กั
บการศึ
กษาเชิ
งเปรี
ยบเที
ยบกั
บประวั
ติ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรมชุ
มชนไทในที่
ต่
างๆ
ด้วย ทั้
งนี้
เพื่
อเชื่
อมโยงพลั
งทางวั
ฒนธรรมกั
บการเสริ
มสร้างศั
กยภาพชุ
มชนในการ
พั
ฒนา ซึ่
งสอดคล้องกั
บแนวคิ
ดวั
ฒนธรรมชุ
มชนขององค์กรพั
ฒนาเอกชน
นอกจากการศึ
กษาวั
ฒนธรรมชุมชนไทตามแนวทางของฉั
ตรทิ
พย์แล้ว ก็
ยั
ง
มี
การศึ
กษาในแนวทางอื่
นๆ อี
ก ส่วนใหญ่จะเน้นการศึ
กษาด้านภาษา วรรณกรรม
และคติชน (ศิราพร 2545) ส่
วนอี
กแนวหนึ่
งจะเป็
นการศึ
กษาเชิ
งชาติ
พันธุ
์
วรรณา
เช่น งานของ สุ
มิ
ตร ปิติ
พั
ฒน์ (2545) ซึ่
งสนใจศึ
กษาเปรี
ยบเที
ยบรายละเอี
ยดของ
ความเชื่
อด้
านต่
างๆ และพิ
ธี
กรรม รวมทั้
งระบบครอบครั
วและเครื
อญาติ
พื้
นฐาน
ในชุ
มชนไทกลุ
่
มต่
างๆ เพื่
อค้
นหาและตรวจสอบลั
กษณะร่
วมพื้
นฐาน ที่
เป็
นโครงสร้
าง
หรื
อระเบี
ยบภายในระบบความคิ
ดทางศี
ลธรรม โดยเฉพาะในโลกทั
ศน์
เกี่
ยวกั
บ
อ�
ำนาจเหนื
อธรรมชาติ
จั
กรวาลวิ
ทยา โครงสร้
างความคิ
ดในพิ
ธี
กรรม รวมทั้
ง
ความเชื่
อมโยงกั
บการจั
ดระเบี
ยบทางสั
งคม
แนวทางที่
สี่
การธ�
ำรงความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
แนวทางนี้
ยึ
ดถื
อความเข้
าใจ
วั
ฒนธรรมคติ
นิ
ยมพื้
นฐานดั้
งเดิ
มอย่างมั่
นคง แต่แทนที่
จะผูกติ
ดความคิ
ดกั
บความ
เป็
นชาติ
กลั
บหั
นมาเชื่
อมโยงกั
บความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
จนท�
ำให้
มองวั
ฒนธรรมของกลุ
่
ม
ชาติพันธุ์ขนาดเล็กแบบแก่นสารนิยม (Essentialism) ในแง่ที่กลุ่มขนาดเล็กเหล่านี้
สามารถธ�
ำรงความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
ซึ่
งเป็
นแก่
นแกนหรื
อเอกลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรม
ของตนเอาไว้
ได้
อย่
างต่
อเนื่
อง แม้
จะเปลี่
ยนแปลงลั
กษณะทางวั
ฒนธรรมผิ
วเผิ
น
ที่
อยู่ภายนอกไปบ้างก็
ตาม ทั้
งนี้
เพราะต้องต่อสู้เพื่
อความอยู่รอด ในความสั
มพั
นธ์
กั
บกลุ่มชนที่
มี
อ�
ำนาจมากกว่า
การศึ
กษาแนวนี้
เริ่
มต้
นขึ้
นในสั
งคมไทยตั้
งแต่
ช่
วงทศวรรษที่
2480 เมื่
อ
หม่
อมเจ้
า สนิ
ท รั
งสิ
ต ได้
ศึ
กษาวั
ฒนธรรมของชาวลั
วะในภาคเหนื
อ และพบว่
าชาวลั
วะ