Previous Page  40 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 40 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

39

ช่วงปลายทศวรรตที่

2490 ดั

งผลงานในหนั

งสื

อส�ำคั

ญเรื่

อง

กาเลหม่านไต

(2504)

ซึ่

งเน้

นศึ

กษาวั

ฒนธรรมด้

านภาษาของชาวไทอาหมในรั

ฐอั

สสั

มของอิ

นเดี

ย และ

ไทยสิบสองปันนา

(2498) ซึ่

งรวบรวมวั

ฒนธรรมประเพณี

ของชาวไทลื้

แนวการศึ

กษาวั

ฒนธรรมชนชาติ

ไทยครั้

งใหม่

นี้

เริ่

มศึ

กษาวั

ฒนธรรม

เชิ

งชาติพั

นธุ์วรรณาของกลุ่มชนชาติ

ไท ที่

อาศั

ยอยู่ในประเทศไทยก่อน ซึ่

งมี

จ�

ำนวน

มากมาย ทั้

งที่

เป็

นวิ

ทยานิ

พนธ์

และการศึ

กษาของนั

กวิ

ชาการท้

องถิ่

น พร้

อมๆ กั

นนั้

ก็

มี

นั

กภาษาศาสตร์

พยายามเดิ

นตามรอยอาจารย์

บรรจบไปศึ

กษาชุ

มชนไท

นอกประเทศด้วย เช่น วิไลวรรณ ขนิษฐานั

นท์ (2519) ต่อมาจึงเริ่มมีนั

กวิชาการ

ตามออกไปศึ

กษาคนไทนอกประเทศอี

กหลายคน เช่

น บุ

ญยงค์

เกศเทศ (2532)

ที่

ออกไปศึ

กษาวั

ฒนธรรมของชาวไทค�

ำตี่

ในพม่าและอิ

นเดี

ย เป็นต้น

ในส่วนการผลักดันการศึกษาวัฒนธรรมชุมชนไทอย่างจริงจังนั้

น ฉั

ตรทิพย์

นาถสุ

ภา นั

บเป็

นผู้

มี

บทบาทส�ำคั

ญอย่

างยิ่

ง ที่

ช่

วยส่

งเสริ

มให้

เกิ

ดการศึ

กษาวิ

จั

ยเป็

คณะใหญ่

ภายใต้

ความพยายามค้

นหารากเหง้

าดั้

งเดิ

มของคนไท ที่

ถื

อเป็

นลั

กษณะ

เฉพาะพิ

เศษในโครงสร้

างความคิ

ดความเชื่

อและการจั

ดการองค์

กรชุ

มชน และไม่

ใช่

ความคิ

ดความเชื่

อในพุ

ทธศาสนา ซึ่

งฉั

ตรทิ

พย์

เรี

ยกว่

าวั

ฒนธรรมต้

นแบบ โดยเชื่

อว่

วั

ฒนธรรมระดับรากบริสุ

ทธิ์

เช่นนี้

เป็นเสมื

อนจิ

ตใต้ส�

ำนึ

ก คุ

ณค่า และจิ

ตวิ

ญญาณ

ที่

จะยั

งคงสามารถด�

ำรงอยู่

และสื

บทอดได้

ในชุ

มชนผ่

านการใช้

ภาษา ขณะที่

วั

ฒนธรรมในสั

งคมระดั

บอื่

นๆ ได้

ผสมผสานและกลายไปหมดแล้

ว ด้

วยการชี้

ชั

ถึ

งฐานคิ

ดนี้

ครั้

งแรกในบทความเรื่

อง ความเชื่

อและพิ

ธี

กรรมของชาวไทอาหม (2528)

ที่รวมพิมพ์อยู่ในหนั

งสือเรื่อง

วัฒนธรรมไทยกับขบวนการเปลี่ยนแปลงสังคม

(2534) ซึ่

งถื

อเป็นความพยายามในการต่อยอดความคิ

ด เพิ่

มเติ

มมาจากการศึ

กษา

ประวั

ติ

ศาสตร์

เศรษฐกิ

จหมู่

บ้

าน และวั

ฒนธรรมชุ

มชนหมู่

บ้

านไทยก่

อนหน้

านี้

(อานั

นท์ 2544ง)

จากแนวทางการศึ

กษาวั

ฒนธรรมชุ

มชนไทดั

งกล่

าว ได้

ยื

นยั

นอย่

างชั

ดเจนว่

ฉั

ตรทิ

พย์

ให้

ความส�

ำคั

ญกั

บวั

ฒนธรรมในระดั

บชุ

มชนอย่

างมาก ในฐานะที่

สามารถ

สื

บทอดลั

กษณะพื้

นฐานของวั

ฒนธรรมไว้ได้ ซึ่

งถื

อเป็นพลั

งของความเป็นชุ

มชนใน