Previous Page  36 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 36 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

35

การศึ

กษาแนวทางนี้

ส่

วนใหญ่

จึ

งมี

ลั

กษณะของการเก็

บรวบรวมและ

ประมวลข้

อมูลเชิ

งพรรณนาด้

านคติ

ชนวิ

ทยา ตลอดจนการรวบรวมรายละเอี

ยดของ

จารี

ตประเพณี

ต่

างๆ ในเชิ

งชาติ

พั

นธุ์

วรรณา เพื่

อแสวงหาความเข้

าใจเกี่

ยวกั

บเนื้

อหา

ของเรื่

องที่

ศึ

กษา มากกว่

าการถกเถี

ยงและเชื่

อมโยงประเด็

นไปสู่

แง่

มุ

มทางสั

งคมด้

าน

อื่

นๆ โดยมุ

งเจาะลึ

กหาระเบี

ยบหรื

อกฎเกณฑ์

ของความสั

มพั

นธ์

ภายในระบบคุ

ณค่

และโลกทัศน์ทางศาสนา ที่เห็นว่าด�ำรงอยู่ก่อนแล้ว ดังนั้

นจึงมักจะเสนอภาพของ

ความคิ

ดเชิ

งแก่

นสารนิ

ยมที่

หยุ

ดนิ่

ง ด้

วยการเน้

นมุ

มมองที่

ว่

า ค่

านิ

ยมเป็

นความเชื่

ที่

มี

ลั

กษณะถาวร เพราะเป็นเป้าหมายชี

วิ

ตที่

สมควรปฏิ

บั

ติ

(อมรา 2541: 94)

ส�

ำหรั

บผู้

ศึ

กษาในเชิ

งคติ

ชนจะสนใจทั้

งโลกทั

ศน์

ของคนไทยโดยรวม และ

โลกทัศน์ของท้องถิ่น เช่น โลกทัศน์ของชาวล้านนา (สิทธิ์ บุตรอินทร์ 2523 และ

สุ

รสิ

งห์ส�

ำรวม 2526) และโลกทั

ศน์ทางการเมื

องจากวรรณกรรมอี

สาน (จารุ

วรรณ

ธรรมวั

ตร 2523) เป็

นต้

น ในกรณี

ที่

ผู้

ศึ

กษาเป็

นนั

กเรี

ยนทางมานุ

ษยวิ

ทยาก็

จะเชื่

อมโยง

ความคิ

ดกั

บพฤติ

กรรมด้วย เช่น สนิ

ท สมั

ครการ พยายามโยงค่านิ

ยมเรื่

อง “มี

เงิ

ก็

นั

บว่าน้อง มี

ทองก็

นั

บว่าพี่

” ว่าสะท้อนพฤติ

กรรมแบบปัจเจกชนนิ

ยมของคนไทย

(สนิ

ท 2519) หรือมองเชื่อมโยงกับสังคมสมัยใหม่ เช่น งานของสุภางค์ จันทวนิ

(2525) เรื่

อง บทบาทของวั

ฒนธรรมพื้

นบ้านในสั

งคมสมั

ยใหม่ เป็นต้น

งานวิ

จั

ยบางชิ้

นอาจจะมี

ความพยายามวิ

เคราะห์

และศึ

กษาหาความแตกต่

าง

ภายในความคิ

ดอยู่

บ้

าง เช่

น งานของ สมบั

ติ

จั

นทรวงศ์

ที่

ศึ

กษาวรรณกรรม

ได้

วิ

เคราะห์

ว่

าโลกทั

ศน์

ของสุ

นทรภู่

เกี่

ยวข้

องกั

บความคิ

ดแบบพุ

ทธศาสนาของ

ชาวบ้

าน ในสมั

ยต้

นกรุ

งรั

ตนโกสิ

นทร์

ซึ่

งแตกต่

างจากพุ

ทธศาสนาในพระธรรม

ค�

ำสอนหลั

ก เป็

นต้

น (Amara et. al. 1985) แต่

งานของ นิ

ธิ

เอี

ยวศรี

วงศ์

เรื่

อง

วั

ฒนธรรมกระฎุ

มพี

กั

บวรรณกรรมต้

นรั

ตนโกสิ

นทร์

(2527) นั

บเป็

นงานชิ้

นแรกๆ

ที่

วิ

เคราะห์

ว่

า วั

ฒนธรรมกระฎุ

มพี

ไม่

ใช่

ระบบคุ

ณค่

าที่

มี

อยู่

ก่

อนแล้

ว เพราะได้

ก่

อรูป

ขึ้

นมาจากการเปลี่

ยนแปลงเงื่

อนไขทางเศรษฐกิ

จช่

วงต้

นสมั

ยรั

ตนโกสิ

นทร์

ซึ่

งเห็

นได้

จากการศึ

กษาวรรณกรรมในช่วงนั้