Previous Page  35 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 35 / 238 Next Page
Page Background

34

ถกเถียงวัฒนธรรม

ของวั

ฒนธรรมและชาติ

เป็

นเรื่

องเดี

ยวกั

น ตามบริ

บทในยุ

คสมั

ยของ Herder เอง

ที่มีความพยายามรวบรวมรัฐเล็กรัฐน้อย ให้เข้ามาอยู่ในการปกครองของปรัสเซีย

(Inglis 2004: 11-15)

อาจกล่

าวได้

ว่

า ความเข้

าใจวั

ฒนธรรมในการศึ

กษาวั

ฒนธรรมกลุ่

มแรกนี้

รั

ความคิ

ดวั

ฒนธรรมจากส�

ำนั

ก Boas บางส่

วน แต่

มี

มุ

มมองส่

วนใหญ่

โน้

มเอี

ยงไปใน

ทางเดี

ยวกั

บ Herder อย่

างมาก เพราะสอดคล้

องกั

บบริ

บทของสั

งคมไทยเช่

นเดี

ยวกั

ที่เริ่มมาจากการสร้

างความเข้าใจว่

า วัฒนธรรมและชาติเป็

นเรื่องเดียวกัน และมี

ส่วนส�ำคัญในการหล่อหลอมความเข้าใจวัฒนธรรมให้มีความหมายไปในแนวทาง

ที่

เน้นความคิ

ด จิ

ตใจ จิ

ตวิ

ญญาณ คติ

ชน พลั

งสร้างสรรค์ และลั

กษณะนิ

สั

ยของ

ความเป็

นชาติ

ซึ่

งถื

อเป็

นลั

กษณะเฉพาะหรื

อลั

กษณะพิเศษของกลุ

มชน จึ

งท�

ำให้

สนใจมองเฉพาะความกลมกลื

นภายในสั

งคมของกลุ

มชน ขณะที่

จะไม่

ให้

ความ

สนใจศึกษา ทั้งในด้านของโครงสร้างสังคมและความสัมพันธ์ของการแลกเปลี่ยน

วั

ฒนธรรม ระหว่างสั

งคมของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ที่

หลากหลาย ซึ่

งอาจอาศั

ยอยู่ในพื้

นที่

เดียวกัน ต่อมาก็ได้พัฒนาจุดเน้นในการศึกษาวิจัยแยกแยะแตกต่างกันออกไปอีก

หลากหลายแนวทางด้วยกั

แนวทางแรก การศึ

กษาค่

านิ

ยมและโลกทั

ศน์

แนวทางนี้

เป็

นกลุ

มใหญ่

ที่

สื

บสานแนวทางการศึ

กษาของพระยาอนุ

มานราชธนอย่

างชั

ดเจน แต่

จะครอบคลุ

การศึ

กษาหลายสาขาวิ

ชา โดยมี

จุ

ดมุ่งหมายร่วมกั

น ในความพยายามจะท�

ำความ

เข้าใจระบบคุณค่าหลักในวัฒนธรรม ซึ่งแสดงออกมาเป็นค่

านิยมเฉพาะเรื่องของ

คนในวัฒนธรรมนั้

น และพยายามหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับโลกทัศน์ ในฐานะ

มุ

มมองที่

มี

ลั

กษณะนามธรรมทั่

วไป และมั

กจะเกี่

ยวข้

องกั

บศาสนาและจั

กรวาลวิ

ทยา

พร้

อมๆ กั

นไปด้

วย วิ

ธี

การศึ

กษาส่

วนใหญ่

จะศึ

กษาจากความเชื่

อในศาสนา

การศึ

กษาเชิ

งคติ

ชนต่

างๆ จากวรรณกรรมทั้

งลายลั

กษณ์

และมุ

ขปาฐะ นิทาน

ประเพณี

การละเล่น และการแสดงอื่

นๆ เช่น ลิ

เก หนั

งตะลุ

ง และ ล�ำตั

ด ซึ่

งเป็น

เรื่องของค่านิยมในอดีต เพื่อท�ำความเข้าใจกับการธ�ำรงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม

(อมรา 2541: 88-94)