32
ถกเถียงวัฒนธรรม
มนุ
ษย์
เปลี่
ยนแปลงปรั
บปรุ
งหรื
อผลิ
ตสร้
างขึ้
น เพื่
อความเจริ
ญงอกงามในวิ
ถี
ชี
วิ
ตของ
ส่
วนรวม วั
ฒนธรรม คื
อ วิ
ถี
แห่
งชี
วิ
ตของมนุ
ษย์
ในส่
วนรวม ที่
ถ่
ายทอดกั
นได้
เอาอย่างกั
นได้” (อนุ
มานราชธน 2515: 103)
เริ่
มต้
นจากความเข้
าใจความหมายของวั
ฒนธรรมอย่
างกว้
างๆ ดั
งกล่
าว
พระยาอนุ
มานราชธนยั
งได้
แยกแยะวั
ฒนธรรมออกเป็
น 2 ระดั
บคื
อ วั
ฒนธรรม
ทางวั
ตถุ
และวั
ฒนธรรมทางจิ
ตใจ วั
ฒนธรรมในระดั
บแรกจะเกี่
ยวข้
องกั
บการครองชี
พ
ขณะที่
ระดั
บหลั
งจะเป็
นเรื่
องของปั
ญญาความคิ
ดและคติ
ความเชื่
อ ซึ่
งเกี่
ยวกั
บ
ความเจริ
ญงอกงามทางจิ
ตใจ (อนุ
มานราชธน 2515: 110-111) และยั
งรวมถึ
งนิ
สั
ย
สั
งคมอี
กด้
วย (อนุ
มานราชธน 2515: 258) จุ
ดนี้
เองพระยาอนุ
มานราชธนเห็
นตรงกั
บ
หลวงวิ
จิ
ตรวาทการว่า วั
ฒนธรรมส่วนนี้
ถื
อเป็นรากเหง้าของวั
ฒนธรรมเดิ
ม และยั
ง
คงจะด�
ำรงอยู่
ได้
อย่
างต่
อเนื่
อง แม้
จะมี
การรั
บพุ
ทธศาสนาเข้
ามาเพิ่
มเติ
มในภายหลั
ง
อี
กก็
ตาม เพราะจะผสมผสานซ้
อนๆ กั
นอยู่
กั
บคติ
ผี
สางเทวดาและลั
ทธิ
พิ
ธี
อื่
นๆ
ที่
เป็
นเสมื
อนรากเหง้
า พื้
นฐานดั้
งเดิ
มส่
วนนี้
จะเข้
มข้
นมากในวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวบ้
าน
(อนุมานราชธน 2515: 191-192) จนท�ำให้พระยาอนุมานราชธนหันไปสนใจศึกษา
ชีวิตชาวบ้านมากขึ้น (อนุมานราชธน 2505 และ 2510) แต่ไม่ใช่ด้วยมุมมองของ
การขั
ดกั
นระหว่
างวั
ฒนธรรมชาวบ้
านกั
บวั
ฒนธรรมหลวง ตามแนวทางศึ
กษาใน
กลุ่
มที่
สอง เพราะพระยาอนุ
มานราชธนจะเน้
นความสอดคล้
อง และความกลมกลื
น
ระหว่างวั
ฒนธรรมทั้
งสองมากกว่า
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมของพระยาอนุ
มานราชธน ที่
มุ่
งเน้
นลั
กษณะรากเหง้
า
ดั้
งเดิ
มของความเป็นไทยนั้
น นอกจากจะแฝงไว้ด้วยคติ
ชาติ
นิ
ยมแล้ว ยั
งอาจแสดง
ถึ
งอิ
ทธิ
พลทางความคิ
ดจากวิ
ชามานุ
ษยวิ
ทยาสายอเมริ
กั
นอยู่
หลายประการด้
วยกั
น
ทั้
งในด้
านที่
ยึ
ดถื
อว่
า วั
ฒนธรรมจะแฝงคติ
พื้
นฐานไว้
ภายใน ซึ่
งเป็
นพลั
งที่
สร้
างสรรค์
และรวมกั
นเป็นลั
กษณะนิ
สั
ยที่
ฝั
งลึ
กอยู่ใต้
จิ
ตส�ำนึ
ก จึ
งท�
ำให้
วั
ฒนธรรมมี
อิ
สระจาก
อิ
ทธิ
พลภายนอก และมี
พลั
งอ�
ำนาจในฐานะตั
วก�
ำหนดชี
วิ
ตด้านอื่
นๆ ตลอดจนการ
ให้
ความส�
ำคั
ญกั
บลั
กษณะพิ
เศษเฉพาะของวั
ฒนธรรมในพื้
นที่
หนึ่งๆ ซึ่
งเท่
ากั
บ
ไม่เห็
นด้วยกั
บความคิ
ดวิ
วั
ฒนาการแบบสากลนิ
ยม ที่
มี
อิ
ทธิ
พลอย่างมากในยุ
โรป