30
ถกเถียงวัฒนธรรม
ท่
านเหล่
านั้
นอาจจะปรั
บเปลี่
ยนความเข้
าใจวั
ฒนธรรมอยู่
ตลอดเวลา เมื่
อเปลี่
ยน
ประเด็
นปั
ญหาและวิ
ธี
วิ
ทยาในการวิ
จั
ยไป ดั
งนั้
นการจ�
ำแนกกลุ่
มศึ
กษาจึ
งยั
งไม่
อาจ
แยกออกจากกั
นอย่
างเด็
ดขาดได้
แต่
อาจจะถือเป็
นเพียงแบบจ�
ำลองในฐานะเป็
น
เครื่องช่วยคิดและช่วยวิเคราะห์ เพื่อสร้างความเข้าใจในเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ที่น่า
จะน�ำไปสู่การสร้างความเข้าใจวั
ฒนธรรมใหม่ๆ ตลอดจนการปรั
บทิ
ศทางของการ
ศึ
กษาวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมในอนาคต
2.2 กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมคตินิยมพื้นฐานดั้งเดิม (Primordialism)
การศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ
่
มนี้น่
าจะเป็
นกลุ
่
มแรกๆ ในสั
งคมไทย แต่
ยั
งคง
สื
บสานจารี
ตมาจนถึ
งปั
จจุ
บั
น โดยเริ่
มก่
อตั
วขึ้
นมาก่
อน ในหมู่
ชนชั้
นน�
ำของส่
วนกลาง
แต่
อยู่
นอกแวดวงวิ
ชาการโดยตรง ในบริ
บทของการสร้
างรั
ฐชาติ
จึ
งมั
กจะแฝงไว้
ด้
วยคติชาติ
นิ
ยมปะปนอยู่
ด้
วยเสมอ จากความพยายามที่
จะนิ
ยามวั
ฒนธรรมให้
มี
ความหมายเท่ากั
บความเป็นไทย เพื่
อสร้างคติ
นิ
ยมพื้
นฐานให้กั
บการรวมอ�
ำนาจ
อยู่
ที่
ศูนย์
กลาง ซึ่
งจะเห็
นได้
อย่
างชั
ดเจนจากการให้
ความส�
ำคั
ญกั
บวั
ฒนธรรม
ของชาติ
ในช่
วงหลั
งปี
พ.ศ.2480 ผ่
านบทบาทของหลวงวิ
จิ
ตรวาทการ ผู้
ที่
มี
ส่
วนอย่
าง
ส�
ำคั
ญในการนิ
ยามความหมายของวั
ฒนธรรมไทย ในฐานะที่
เป็
นวั
ฒนธรรมของ
ความเจริ
ญมาตั้
งแต่
อดี
ตกาล ซึ่
งฝั
งติ
ดอยู่
กั
บนิ
สั
ยที่
ดี
งามต่
างๆ จนถื
อเป็
นจิ
ตใจหรื
อ
คติ
พื้
นฐานดั้
งเดิ
มที่
ยึ
ดถื
อกั
นต่อมา ว่าเป็นลั
กษณะพิ
เศษเฉพาะของวั
ฒนธรรมไทย
แม้ว่าภายหลังหลวงวิจิตรวาทการจะนิยามความเป็นไทย ด้วยการสร้างภาพแทน
ความจริงอื่
นๆ อีกมากมายก็
ตาม (สายชล 2544) แต่การนิ
ยามวั
ฒนธรรมเชื่
อมโยง
กับความเป็นไทยดังกล่าวของหลวงวิจิตรวาทการ ก็ได้สถาปนาและปลูกฝังความ
เข้
าใจวั
ฒนธรรม ในฐานะที่
เป็
นคติ
นิ
ยมพื้
นฐานดั้
งเดิ
มขึ้
นในสั
งคมไทย ซึ่
งยั
งคง
มี
อิ
ทธิ
พลอยู่
ต่
อมาได้
จวบจนถึ
งปั
จจุ
บั
นอย่
างไม่
น่
าเชื่
อ ส่
วนหนึ่
งก็
เพราะยั
งคงมี
การตอกย�้
ำและสื
บทอดความคิ
ดดั
งกล่
าวมาอย่
างต่
อเนื่
อง ดั
งปรากฏอยู่
ในแนวการ
ศึ
กษาต่างๆ ของกลุ่มศึ
กษาวั
ฒนธรรมกลุ่มนี้
ในหลายๆ แนวด้วยกั
น