Previous Page  32 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 32 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

31

ส�

ำหรั

บการศึ

กษาวั

ฒนธรรมอย่

างเป็

นทางการของสั

งคมไทย ในเชิ

งวิ

ชาการ

นั้

น น่าจะเชื่

อมโยงอยู่กั

บบทบาทของพระยาอนุมานราชธน (2431-2512) ผู้เริ่

มต้น

สร้

างความเข้

าใจวั

ฒนธรรมจากการศึ

กษาวิ

จั

ยด้

วยตนเองอย่

างจริ

งจั

งหลั

งจากปี

พ.ศ.2480 เป็นต้นมา นอกจากจะได้รั

บอิ

ทธิ

พลทางความคิ

ดว่าด้วยวั

ฒนธรรมของ

ความเป็

นไทย ในช่

วงก่

อนหน้

านั้

นแล้

ว พระยาอนุ

มานราชธนยั

งได้

รั

บความคิ

วั

ฒนธรรมจากสั

งคมตะวั

นตก ผ่

านการอ่

านหนั

งสื

อของนั

กมานุ

ษยวิ

ทยา

ชาวต่างประเทศอี

กหลายคน เริ่

มจากการอ่านหนั

งสื

อเรื่

อง

The Golden Bough

(1890) ของนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาชาวอั

งกฤษชื่

อ James Frazer ขณะที่

รั

บราชการใน

กรมศุ

ลกากร

3

(2447-2476) ซึ่

งท�

ำให้

มี

โอกาศติ

ดต่

อกั

บชาวต่

างประเทศ หนั

งสื

อเล่

มนี้

เป็

นที่

นิยมอ่

านกั

นทั่

วไป เพราะได้

รวบรวมประเพณี

และความเชื่อด้

านไสยศาสตร์

ที่

หลากหลายจากทั่

วโลก และคงจะสร้

างแรงบั

นดาลใจให้

พระยาอนุ

มานราชธน

สนใจศึกษาประเพณี

ความเชื่อด้านไสยศาสตร์และการนับถือผีสางเทวดาของไทย

อย่

างมาก จนเริ่มท�

ำงานค้

นคว้

าในท�

ำนองเดี

ยวกั

น ในระยะต่

อมาอย่

างมากมาย

(อนุ

มานราชธน 2491)

ต่อมาเมื่

อได้ย้ายมาท�

ำงานที่

กรมศิ

ลปากร (2478-2491) และสอนหนั

งสื

อใน

มหาวิ

ทยาลั

ย พระยาอนุ

มานราชธนได้รู้จั

กมั

กคุ้นกั

บนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาชาวอเมริ

กั

โดยเฉพาะส�

ำนั

กมหาวิ

ทยาลั

ยคอร์

แนลล์

ที่

เข้

ามาวิ

จั

ยหมู่

บ้

านบางชั

น จึ

งได้

รั

ค�

ำแนะน�

ำให้อ่านหนั

งสื

อของนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาอเมริ

กั

นเพิ่

มเติ

ม เช่น A. L. Kroeber

(1948) และ Melville J. Herskovitz (1948) เป็นต้น ทั้

งสองต่างก็

เป็นศิ

ษย์ของ Franz

Boas (1858-1942) ผู้บุ

กเบิ

กวิ

ชามานุ

ษยวิ

ทยาในอเมริ

กา ความคิ

ดต่างๆ จากการ

อ่านหนั

งสื

อเหล่านี้

คงจะมี

ส่วนอย่างส�

ำคั

ญในการชั

กน�

ำ ให้พระยาอนุมานราชธน

หันมาสนใจศึกษา การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่เป็

นวิถีชีวิตมากขึ้น โดยเน้

ที่

ลั

กษณะสร้

างสรรค์

ของวั

ฒนธรรม เพราะเห็

นว่

ามี

ส่

วนช่

วยให้

เกิ

ดการประดิ

ษฐ์

คิ

ดค้

นและเสริ

มสร้

างความเจริ

ญ จนในที่

สุ

ดท่

านก็

ได้

นิ

ยามวั

ฒนธรรมไว้

ว่

า “คื

อ สิ่

งที่

3

ข้อมูลนี้ สมจัย อนุมานราชธน ยืนยันใน “ร�ำพึงถึงคุณพ่อ” รวมพิมพ์อยู่ใน

100 ปี พระยาอนุมานราชธน

(ส�ำนักงานคณะกรรมวัฒนธรรมแห่งชาติ 2531: 69)