งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
33
ความเข้
าใจวั
ฒนธรรมเช่
นนี้
ถื
อเป็
นหลั
กการส�
ำคั
ญในวิ
ชามานุ
ษยวิ
ทยา
อเมริ
กั
น นั
บตั้
งแต่สมั
ยของ Franz Boas มาแล้ว พระยาอนุ
มานราชธนน่าจะเรี
ยนรู้
ความคิ
ดเหล่
านี้
ผ่
านการอ่
านงานเขี
ยนของศิ
ษย์
คนส�ำคั
ญๆ ของ Franz Boas ดั
งกล่
าว
ข้
างต้
น แม้
พระยาอนุ
มานราชธนจะเขี
ยนเกี่
ยวกั
บวิ
วั
ฒนาการแห่
งวั
ฒนธรรมมาตั้
งแต่
ปี
พ.ศ.2496 แล้
วก็
ตาม (อนุ
มานราชธน 2515) แต่
มี
ความหมายเพี
ยงการเปลี่
ยนแปลง
วั
ฒนธรรมที่
เกิ
ดขึ้
นในประวั
ติ
ศาสตร์
มากกว่
าแสดงนั
ยของความคิ
ดแบบ
วิ
วั
ฒนาการนิ
ยม ซึ่
งเน้นความแตกต่างทางความคิ
ดระหว่างวั
ฒนธรรมในแต่ละยุ
ค
ขณะที่
พระยาอนุ
มานราชธนจะยึ
ดมั่
นอยู่
กั
บคติ
พื้
นฐานดั้
งเดิ
มในวั
ฒนธรรม ที่
สามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างต่อเนื่
อง ทั้
งนี้
พระยาอนุ
มานราชธนจะสนใจศึ
กษาเฉพาะ
วัฒนธรรมของความเป็นไทยเท่านั้
น โดยไม่ได้สนใจความสัมพันธ์แลกเปลี่ยนหรือ
การผสมผสานระหว่
างวั
ฒนธรรม ซึ่
งเป็
นแนวทางส�
ำคั
ญของมานุ
ษยวิ
ทยาอเมริ
กั
น
ส�
ำนั
กของ Franz Boas พระยาอนุ
มานราชธนจึ
งรั
บเอามาเฉพาะการศึ
กษาด้
านคติ
ชน
ของกลุ่มชนใดกลุ่มชนหนึ่
งเป็นหลั
ก
ที่
จริ
งแล้
วความเข้
าใจวั
ฒนธรรมของ Franz Boas ซึ่
งเกิ
ดมาเป็
นชาวเยอรมั
น
ก่อนที่
จะอพยพมาอยู่อเมริ
กา ถื
อว่ามี
รากเหง้าอยู่ในสั
งคมเยอรมั
นมาก่อน เพราะ
สื
บสานความคิ
ดมาจาก Johan Gottfried von Herder (1744-1803) ผู้
นิ
ยามความหมาย
ของวั
ฒนธรรมอย่างชั
ดเจนเป็นคนแรกๆ และมี
ชี
วิ
ตอยู่ร่วมสมั
ยกั
บ Immanuel Kant
ผู้
เป็
นนั
กปรั
ชญาคนส�
ำคั
ญของยุ
ครู้
แจ้
งในยุ
โรป ด้
วยการชี้
ให้
เห็
นถึ
งความส�
ำคั
ญ
ของความคิ
ดแบบมี
เหตุ
ผลที่
เป็นพื้
นฐานของความรู้และวิ
ธี
คิ
ดแบบวิ
ทยศาสตร์ แต่
Herder วิ
จารณ์
ความคิ
ดดั
งกล่
าวว่
าเป็
นวิ
ธี
คิ
ดเชิ
งเดี่
ยว ด้
วยการเสนอให้
หั
นมาสนใจ
ความคิดซั
บซ้
อนในวั
ฒนธรรมมากขึ้น ในความเข้
าใจของ Herder นั้
นวั
ฒนธรรม
หมายถึ
ง จิ
ตใจ จิ
ตวิ
ญญาณ พลั
งสร้างสรรค์ และลั
กษณะของความเป็นชาติ
ที่
อยู่
ในคติชาวบ้านและปรากฏอยู่ในศิลปะและหัตถกรรมพื้นบ้าน ซึ่งเป็นองค์รวมของ
ความสร้างสรรค์ในวิ
ถี
ชี
วิ
ตประจ�
ำวั
น ความคิ
ดของ Herder จึ
งมี
นั
ยแบบวั
ฒนธรรม
สัมพัทธ์นิยมอย่างชัดเจน กล่าวคือพยายามปกป้องลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรม
ขณะเดี
ยวกั
นก็
มี
นั
ยของความคิ
ดชาติ
นิ
ยมอยู่
อย่
างเต็
มที่
เพราะมองลั
กษณะเฉพาะ