Previous Page  27 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 27 / 238 Next Page
Page Background

26

ถกเถียงวัฒนธรรม

ประเทศอั

งกฤษ แต่

จะเน้

นในความหมายของความเจริ

ญงอกงาม ที่

วิ

วั

ฒนาการขึ้

มาในสั

งคมเป็นหลั

ก ความเข้าใจวั

ฒนธรรมในทศวรรษที่

2470 จึ

งน่าจะยั

งมี

ความ

สั

บสนปนเปอยู่กั

บความหมายของอารยธรรม

ในยุคก่

อนหน้

านั้

น ปั

ญญาชนไทย เช่

น ก.ศ.ร กุ

หลาบ เมื่อเขี

ยนหนั

งสือ

“อายะติวัฒน์”

ในปี

พ.ศ.2454 มั

กใช้

ค�ำว่

า “ธรรมเนี

ยมแก้

ว” ในความหมาย

ใกล้เคี

ยงกั

บวั

ฒนธรรม และใช้ค�

ำว่า “ขนบธรรมเนี

ยมเรี

ยบร้อย” หมายถึ

งซิ

วิ

ไลซ์

ด้

วยการวงเล็

บไว้

หลั

งค�ำดั

งกล่

าว (2538: 82) ซึ่

งต่

อมาค�ำนี้

จึ

งถูกบั

ญญั

ติ

ขึ้

นเป็

ภาษาไทยว่า อารยธรรม ความสั

บสนเหล่านี้

สะท้อนถึ

ง ปัญหาของปัญญาชนไทย

ในขณะนั้

น ที่

พยายามจะเล่าความเข้าใจของตนเกี่

ยวกั

บความสั

มพั

นธ์กั

บประเทศ

ตะวั

นตก ซึ่

งพวกเขายอมรั

บว่

าเจริ

ญกว่

า แต่

ก็

ยั

งไม่

ชั

ดเจนว่

าอะไรเจริ

ญ เพราะ

ขาดค�

ำในภาษาไทยที่

จะอธิ

บายสภาวะดั

งกล่

าว ในกรณี

ของ ก.ศ.ร กุ

หลาบ

จะใช้

วิ

ธี

เพิ่

มเติ

มค�

ำเข้

าไปขยายความ เพื่

อแสดงนั

ยของธรรมเนี

ยมที่

ดี

และมี

นั

ยเกี่

ยว

กั

บความเจริ

ญขึ้

แม้

แต่

กรมพระยาด�

ำรงราชานุ

ภาพก็

ยั

งทรงสั

บสน เพราะท่

านทรงใช้

วัฒนธรรม ด้

วยการใส่

ความหมายในวงเล็

บท้

ายค�

ำว่

า Civilization ในพระนิพนธ์

เรื่อง “สมาคมไทยอย่

างโบราณ” ในหนั

งสื

นิทานโบราณคดี

ซึ่

งทรงนิ

พนธ์

ไว้

ในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2483-2485 โดยทรงตั้

งข้อสังเกตว่า สมาคม (หมายถึ

งสั

งคม

ชุ

มชน) ของไทยโบราณมี

ความเท่

าเที

ยมกั

นและอยู่

ร่

วมกั

นอย่

างเป็

นสุ

ข “จึ

งเห็

นควร

นั

บว่าเป็น

วัฒนธรรมอย่างสูง

ตามสมควรแก่ท้องถิ่

น” จนทรงคิ

ดว่าเป็นลั

กษณะ

หนึ่

งของสั

งคมนิ

ยม ที่

มีอยู่ในสั

งคมไทยมาก่อนแล้ว (ด�

ำรงราชานุ

ภาพ 2514: 323)

ส่

วนการให้

ความหมายของค�

ำว่

า “วั

ฒนธรรม” ตรงกั

บค�

ำว่

า “Culture”

ในภาษาอั

งกฤษนั้

น พระเจ้

าวรวงศ์

เธอ กรมหมื่

นนราธิ

ปพงศ์

ประพั

นธ์

ทรงเป็

ผู้

บั

ญญั

ติ

ขึ้

น หลั

งจากที่

ทรงแปลว่

า “พฤทธิ

ธรรม” มาก่

อน แต่

ไม่

เป็

นที่

นิ

ยม ต่

อมาจึ

ทรงเปลี่

ยนเป็

นวั

ฒนธรรม (นราธิ

ปประพั

นธ์

พงศ์

2544: 116) ซึ่

งสั

นนิ

ษฐานว่

า คงจะ

บั

ญญั

ติ

ขึ้

นในช่

วงใกล้

เคี

ยงกั

บการออกพระราชบั

ญญั

ติ

บ�

ำรุ

งวั

ฒนธรรมแห่

งชาติ

ปี

พ.ศ.2483 (ยุ

กติ

2548: 90) ในครั้

งนั้

นวั

ฒนธรรมจึ

งถูกผูกโยงเข้

ากั

บความเป็

นไทย