บทที่ 2
ความเข้าใจ “วัฒนธรรม”
ในงานวิจัยสังคมไทย
1
อานั
นท์ กาญจนพั
นธุ์
2.1 บทน�ำ
แม้สังคมไทยจะมีวัฒนธรรมสืบทอดมาอย่างยาวนานแล้วก็ตาม แต่ความ
เข้
าใจ “วั
ฒนธรรม” ในฐานะเป็
นแนวความคิ
ด หรื
อค�
ำที่
มี
ความหมายเฉพาะ
ซึ่
งสามารถแยกออกมาพิ
จารณาได้
ต่
างหากนั้
น เพิ่
งจะปรากฏขึ้
นราวๆ 80 ปี
มานี้
เอง
ในระยะแรกๆ นั้
นจะใช้ทั
บศั
พท์ภาษาอังกฤษว่า “คั
ลเชอร์” ดั
งปรากฏในปาฐกถา
ของกรมหมื่
นพิ
ทยาลงกรณ์
2
เรื่
อง “ภาวะอย่
างไรหนอที่
เรี
ยกว่
า ซิ
วิ
ไลซ์
” ซึ่
งทรงแสดง
ที่
สามั
คยาจารย์
สโมสรสถาน เมื่
อ วั
นที่
27 ธั
นวาคม 2475 (พิ
ทยาลงกรณ์
2513: 433)
ส�
ำหรั
บการใช้ค�
ำว่า “วั
ฒนธรรม” ในภาษาไทยครั้
งแรก เท่าที่
สามารถหาหลั
กฐาน
เป็นภาษาเขี
ยนได้ในขณะนี้
พบอยู่ในหนั
งสื
อเรื่
อง “
ปรัชญาของสยามใหม่
” ของ
จ�
ำกั
ด พลางกูร (2479) ซึ่
งเขี
ยนขณะเรี
ยนหนั
งสื
ออยู่
ที่
มหาวิ
ทยาลั
ยออกส์
ฟอร์
ด
1
ในการปรับปรุงครั้งนี้ ผู้เขียนขอขอบคุณ ดร. ยุกติ มุกดาวิจิตร ผู้วิจารณ์ข้อเขียนนี้ ในการน�ำเสนอต่อการประชุม
ประจ�ำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 7 เรื่อง ยกเครื่องวัฒนธรรมศึกษา ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เมื่อ 26 มีนาคม 2551
ซึ่งมีส่วนช่วยให้ชัดเจนมากขึ้น
2
ผู้เขียนขอขอบคุณ ศ. สายชล สัตยานุรักษ์ ในความเอื้อเฟื้อแนะน�ำเอกสารหลายชิ้น เกี่ยวข้องกับการใช้ค�ำว่า
วัฒนธรรมในอดีต