งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
215
ใต้
ระบบคิ
ด (episteme) เดี
ยวกั
บสิ่
งที่
มั
นขั
ดแย้
งด้
วย เช่
น ในขณะที่
กระแสภูมิ
ปั
ญญา
ต่อต้านกระแสทุ
นนิ
ยมหรื
อโลกาภิ
วั
ฒน์ ขณะเดี
ยวกันตั
วมั
นเองก็
เป็นสิ่
งที่
ถูกพูดถึ
ง
ทั่วโลก (โลกาภิวัฒน์แบบหนึ่
ง) ตัวอย่างเช่น การรื้อฟื้นศิลปะพื้นบ้านหลายกรณี
ชี้
ให้
เห็
นว่
า จะประสบความส�
ำเร็
จได้
ก็
ต่
อเมื่
อสามารถปรั
บตั
วได้
ดี
กั
บเศรษฐกิ
จ
การตลาดซึ่งเป็นสิ่งที่กระแสภูมิปัญญาปฏิเสธมาตั้งแต่ต้น ดังนั้
นงานศึกษาต่อไป
อาจจะเริ่
มจากการตั้
งค�
ำถามเชิ
งปฏิ
บั
ติ
การของภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นในฐานะที่
เป็
น
ส่วนหนึ่
งของสังคมไทยและ/หรือมิติของโลกาภิวัฒน์ว่
ามีปฏิบัติการต่
อกันอย่
างไร
(โดยไม่มี
ค�
ำตอบแบบส�
ำเร็
จรูปรออยู่ในตอนท้ายของงาน)
ส่
วนแนวทางประวั
ติ
ศาสตร์
ท้
องถิ่
นมี
ความน่
าสนใจหลายประการกล่
าว คื
อ
เป็นงานศึกษาที่ค�
ำนึ
งถึงบริบททางประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะงานใน
ภาคกลางจะเห็
นความหลากหลายของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ซึ่
งเป็
นกลุ่
มคนดั้
งเดิ
มในเกื
อบ
ทุ
กพื้
นที่
จึ
งเป็
นการตอกย�้
ำประเด็
นที่
มี
ความส�
ำคั
ญอย่
างยิ่
งในการศึ
กษาวั
ฒนธรรม
กั
บการพั
ฒนา คื
อ การพั
ฒนาที่
เน้นถึ
งความหลากหลาย (diversity) ของวั
ฒนธรรม
ส่
วนหนึ่
งของงานศึ
กษาพยายามชี้
ว่
านโยบายการพั
ฒนาที่
มองไม่
เห็
นความ
หลากหลายน�
ำไปสู่ปัญหาอย่างไร และยังย�้
ำถึงการสร้างและการคงอยู่ของสังคม
เริ่มต้นมาจากความหลากหลาย ซึ่งประเด็นที่ไม่รู้เรียกได้ว่าเป็นภูมิปัญญาหรือไม่
ก็
คื
อคนสมั
ยก่
อนอยู่
ร่
วมกั
นบนความหลากหลายด้
วยความสั
มพั
นธ์
ประเภทไหน
ต่
างจากสมั
ยปั
จจุ
บั
นที่
เราถูกท�
ำให้
เหมื
อนกั
นทั้
งค่
านิ
ยมในการบริ
โภค ศาสนา เชื้
อชาติ
แต่
ก็
ทะเลาะกั
นมากขึ้
น นอกจากนี้
งานในกลุ่
มนี้
ส่
วนหนึ่
งเป็
นการศึ
กษาจากมุ
มมอง
ของคนใน (emic view) จึ
งไม่ต้องถามต่อว่าศึ
กษาแล้วใครได้ประโยชน์ ศึ
กษาแล้ว
จะอยู่บนหิ้
งหรือไม่ เพราะทั้
งระหว่างศึ
กษาและเมื่
อศึ
กษาเสร็
จ ผู้ศึ
กษาซึ่
งเป็นคน
ได้
ประโยชน์
ตลอดทั้
งกระบวนการ อย่
างไรก็
ตามแม้
ว่
าการศึ
กษาแนวนี้
เจ้
าของ
วั
ฒนธรรมจะเป็
นผู้
ด�
ำเนิ
นการเอง หากแต่
นั
กวิ
จั
ยหรื
อนั
กศึ
กษาที่
สนใจวิ
ธี
การ
ดั
งกล่
าวก็
ยั
งมี
ความจ�
ำเป็
นอยู่
แต่
ในสถานะของผู้
เชื่
อมโยงแนวคิ
ดและชั
กชวนให้
เกิ
ด
การวิ
เคราะห์และตั้
งค�
ำถามต่อไป