Previous Page  219 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 219 / 238 Next Page
Page Background

218

ถกเถียงวัฒนธรรม

ที่หลากหลายตามฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวของชุมชนนั้

นๆ เช่น การท่องเที่ยว

เชิ

งนิ

เวศ การท่องเที่

ยวเชิ

งวั

ฒนธรรม การท่องเที่

ยวเชิ

งเกษตร โฮมสเตย์ เป็นต้น

ทั้งนี้ งานวิจัยชุมชนในระดับพื้นที่ได้แสดงให้เห็นถึงภาพที่มีความแตกต่าง

กั

นออกไปอั

นเป็นผลสื

บเนื่

องจากการน�

ำการท่องเที่

ยวเข้ามาในฐานะของเครื่

องมื

การพัฒนา โดยในระยะแรกเราอาจพบว่าการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนเนื่องจาก

การพั

ฒนาการท่

องเที่

ยวเป็

นไปในรูปแบบของการตั้

งรั

บอิ

ทธิ

พลจากภายนอก

ซึ่

งในหลายกรณี

ได้

น�

ำไปสู่

การเปลี่

ยนแปลงบริ

บททางสั

งคมและวั

ฒนธรรมของ

ชุ

มชนลงไปในระดั

บลึ

ก รวมทั้

งอาจส่

งผลกระทบต่

อความอยู่

รอดของมรดกทาง

ธรรมชาติและวั

ฒนธรรมของชุมชนไปอีกในระยะยาว แม้

กระนั้

น การท่

องเที่

ยวก็

ยั

งถูกตี

ความในฐานะของเครื่

องมื

อที่

สามารถก่

อให้

เกิ

ดผลได้

ใน 2 ด้

าน ทั้

งด้

านบวก

และด้านลบ มากกว่าที่จะถูกมองเฉพาะในด้านลบเพียงอย่างเดียว ด้วยเหตุนี้เอง

ในเวลาต่

อมา จึ

งได้

เกิ

ดความพยายามของชุ

มชนเองที่

จะจั

ดการให้

การท่

องเที่

ยว

เข้

ามาก่

อให้

เกิ

ดประโยชน์

ต่

อชุ

มชนได้

อย่

างแท้

จริ

ง รวมถึ

งความพยายามในการ

ควบคุ

มและลดผลกระทบในด้

านลบต่

างๆ ที่

อาจจะเกิ

ดขึ้

น อย่

างไรก็

ตามเมื่

มองจากภาพรวม อาจพบว่าการท่องเที่ยวก็ยังเป็นปัจจัยที่เกื้อหนุ

นต่อการพัฒนา

ได้

มากกว่

าการสกั

ดกั้

นอยู่

ดี

โดยเฉพาะเมื่

อน�

ำมาปฏิ

บั

ติ

ได้

อย่

างถูกต้

องและ

เหมาะสม การท่

องเที่

ยวจะเป็

นสิ่

งที่

ช่

วยสนั

บสนุ

นชุ

มชน วั

ฒนธรรม สภาพแวดล้

อม

และระบบเศรษฐกิ

จของท้

องถิ่

น ในขณะเดี

ยวกั

นก็

สามารถสร้

างความสนใจและ

ดึ

งดูดใจให้

กั

บนั

กท่

องเที่

ยวไปในเวลาเดี

ยวกั

นได้

ด้

วย จากข้

อสรุ

ปดั

งกล่

าว อาจะน�

ไปสู่

ประเด็

นส�

ำคั

ญในการผลิ

ตงานวิ

จั

ยในอนาคตเกี่

ยวกั

บ วั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา

ในประเด็

นของการท่องเที่

ยวโดยอาจค�ำนึ

งถึ

งหลั

กการส�

ำคั

ญดั

งต่อไปนี้

ก. การบริการจัดการท่องเที่ยวที่มาจากรากฐานภายใน (inward-

oriented)

ความส�

ำคั

ญของหลั

กการนี้

อยู่

บนพื้

นฐานที่

ว่

า แนวคิ

ดของการบริ

หารจั

ดการ

สภาพแวดล้

อมธรรมชาติ

และทางวั

ฒนธรรมเพื่

อการท่

องเที่

ยวของชุ

มชนเป็

นสิ่

งที่