208
ถกเถียงวัฒนธรรม
งานศึ
กษาจ�
ำนวนไม่
น้
อยที่
ยึ
ดติ
ดกั
บแนวการวิ
เคราะห์
ดั
งกล่
าวจนตกอยู่
ภายใต้
กั
บดั
กการคิ
ดแบบคู่
ตรงข้
าม (dichotomy) และการศึ
กษาชุ
มชนด้
วยภาพ
โรแมนติ
ก (romantic) ดั
งที่
สุ
ริ
ชั
ย หวั
นแก้
ว กล่
าวว่
า การท�
ำความเข้
าใจมโนทั
ศน์
เรื่
อง
“ชุ
มชน” ที่
ผ่านมามั
กอ้างอิงกรอบ “ชนบท แบบเมื
อง” (rural- urban continuum)
ซึ่
งเริ่
มในแวดวงสั
งคมวิ
ทยาทั้
งในยุ
โรปและสหรั
ฐ เมื่
อต้
นคริ
ตศตวรรษที่
20 โดย
จุ
ดเริ่
มต้
นของการศึ
กษาเรื่
องชุ
มชนคื
อการแยกระหว่
าง ชุ
มชนเมื
อง กั
บ ชุ
มชนชนบท
เป็
นการพิ
จารณาแบบทวิ
ทั
ศน์
(dichotomy) หรื
อการแบ่
ง 2 ขั้
วตายตั
ว (binary opposition)
น�ำไปสู่มายาคติในการศึกษาชุมชนคือ ประการแรก การสร้างนิยามแบบทวิทัศน์
(dichotomy) ระหว่
างเมื
อง/ชนบท หรื
อ สั
งคม อุ
ตสาหกรรม/สั
งคมเกษตรกรรม
รวมถึ
งการวิ
เคราะห์
ภายใต้
การคิ
ดแยกขั้
วอื่
นๆ เช่
นก่
อนหน้
านี้
เราถูกท�
ำให้
เชื่
อว่
า
เมืองดีกว่าชนบท เจริญและทันสมัย ขณะที่ชนบท ล้าหลัง ไม่ดี ไม่สมบูรณ์ แต่
ปั
จจุ
บั
นกลั
บเป็
นอี
กด้
านหนึ่
งคื
อ ชนบทดี
เรี
ยบง่
าย ความสั
มพั
นธ์
เครื
อญาติ
เมื
องไม่
ดี
ท�
ำลายความเป็
นชุ
มชน เหล่
านี้
ล้
วนแค่
ตกอยู่
ภายใต้
กั
บดั
กการวิ
เคราะห์
เดี
ยวกั
น
ประการที่
สอง การสร้
างภาพชุ
มชนโรแมนติ
ก (romantic) ปรากฏในงานศึ
กษาชุ
มชน
จ�ำนวนไม่
น้
อย เช่
น ชุมชนที่เอื้
อเฟื
้
อพึ่งพา ไม่
เอารั
ดเอาเปรี
ยบกั
นผูกโยงกั
นด้
วย
ความสั
มพั
นธ์เชิ
งเครื
อญาติ
เป็นต้น (สุ
ริ
ชั
ย หวั
นแก้ว, 2543)
นอกจากนี้
การวิ
เคราะห์
การเปลี่
ยนแปลงยั
งพบว่
านิ
ยมมองภายใต้
การมุ่
งหา
ปั
จจั
ยที่
น�
ำไปสู่
การเปลี่
ยนแปลง เช่
น การแบ่
งปั
จจั
ยการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคม
และวั
ฒนธรรมออกเป็
นปั
จจั
ยภายใน (internal factor) และปั
จจั
ยภายนอก (external
factor) ซึ่
งในปัจจุ
บั
นการวิ
เคราะห์ด้วยกรอบดั
งกล่าวอาจจะไม่ได้ภาพที่
ชั
ดเจนและ
เป็นจริงนั
ก เพราะการจ�
ำแนกว่าแท้จริงอะไรเป็นปัจจัยภายในหรือปัจจัยภายนอก
อาจจะมี
ปัญหาในตั
วเอง
แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน: ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
ส�
ำหรั
บการศึ
กษาที่
อิ
งกั
บความเป็
นท้
องถิ่
นพบในภาคกลางมี
การใช้
ทั้
งใน
ความหมายของพื้
นที่
ซึ่
งมั
กเป็นชนบท และความหมายเชิ
งองค์ความรู้ ที่
มี
ลั
กษณะ