งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
205
ทางสั
งคมที่
เกิ
ดขึ้
น ได้เป็นไปอย่างช้าๆ และเป็นล�
ำดั
บขั้
นตอน ปัจจั
ยจากภายนอก
ยั
งมี
บทบาทและอิ
ทธิ
พลน้
อยต่
อพลวั
ตของชุ
มชน ทั้
งนี้
รวมถึ
งการพั
ฒนาด้
าน
การท่องเที่ยวด้วยเช่นกัน จากเหตุผลดังกล่าวจึงท�
ำให้การธ�
ำรงวัฒนธรรมภายใน
กลุ่มสมาชิ
กเป็นไปได้อย่างค่อนข้างราบรื่
น
จนกระทั่
งในสมั
ยหลั
งสงครามโลกครั้
งที่
2 กระบวนการพั
ฒนาประเทศ
ตามแนวทางของตะวั
นตกโดยการขยายขอบเขตของภาคอุ
ตสาหกรรมออกไปใน
เขตตัวเมืองรอบนอกได้ก่อให้เกิดผลกระทบในหลายระดับต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ของสมาชิ
กชุ
มชนท้องถิ่
น โดยเฉพาะในด้านของการย้ายถิ่
นฐานของประชากรจาก
ชนบทไปสู่
เขตเมื
อง ส่
งผลให้
มรดกทางวั
ฒนธรรมของท้
องถิ่
น (local cultural heritage)
ทั้
งในลั
กษณะของสิ่
งรูปธรรม เช่
น อาคารบ้
านเรื
อน ตลาด วั
ด โรงเรี
ยน สถานี
รถไฟ
โบราณสถาน หรื
อสิ่
งนามธรรม เช่
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตหรื
อภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นดั้
งเดิ
มบางอย่
าง
ไม่ได้รั
บการดูแลเอาใจใส่หรื
อมี
การถ่ายทอดมายั
งสมาชิ
กในรุ่นต่อๆ ไป ท�
ำให้เกิ
ด
การเสื่อมโทรมทิ้
งร้
างหรื
อมรดกวัฒนธรรมบางสิ่
งต้
องสูญหายหรือถูกปรั
บเปลี่
ยน
สภาพลั
กษณ์ใหม่เพื่
อให้ยั
งสามารถธ�
ำรงอยู่ต่อไปได้
อย่างไรก็
ตาม ในกระบวนการพั
ฒนาดั
งกล่าวนอกจากในด้านการขยายตั
ว
ของย่
านอุ
ตสาหกรรมสมั
ยใหม่
แล้
ว การพั
ฒนาในด้
านของการคมนาคมขนส่
งก็
เป็
น
ปั
จจั
ยส�
ำคั
ญที่
ก่
อให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงและการพั
ฒนาในอี
กแนวทางหนึ่
งของ
ชุ
มชนท้องถิ่
น กล่าวคื
อ ช่วยให้การเดิ
นทางไปติ
ดต่อค้าขายมี
ความสะดวกมากขึ้
น
รวมถึ
งเพื่
อวั
ตถุ
ประสงค์
ในการเข้
าเยี่
ยมชมสถานที่
ส�
ำคั
ญต่
างๆ เช่
น วั
ด ศาสนสถาน
ย่
านการค้
าเก่
าแก่
เป็
นต้
น ซึ่
งแต่
เดิ
มผู้
เข้
าไปเยี่
ยมชมสถานที่
เหล่
านี้
มั
กจะมี
แต่
ผู้พั
กอาศั
ยในบริ
เวณใกล้เคี
ยงเสี
ยเป็นส่วนใหญ่ และสถานที่
เหล่านั้
นบางที่
เองก็
ไม่
ได้
ถูกจั
ดว่
าเป็
นสถานที่
ท่
องเที่
ยวในทั
ศนะของชาวชุ
มชนท้
องถิ่
นเองด้
วย อย่
างไร
ก็
ตาม การเพิ่
มจ�
ำนวนมากขึ้
นของผู้
เข้
าเยี่
ยมชมสถานที่
จากภายนอกชุ
มชนได้
ก่
อให้
เกิ
ดความสนใจใหม่
ขึ้
นในการจั
ดสิ
นค้
าและบริ
การเพื่
อตอบสนองต่
อกลุ่
มผู้
เข้
า
มาใหม่ที่
มี
ก�
ำลั
งซื้
อเหล่านี้
แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บการพั
ฒนาและจัดการสภาพชุ
มชนเพื่
อ
การท่
องเที่
ยวจึ
งได้
ถื
อก�ำเนิ
ดขึ้
น ทั้
งนี้
ตั
วแปรส�
ำคั
ญที่
ก่
อให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงขึ้
น