206
ถกเถียงวัฒนธรรม
นอกจากจะเป็
นจ�
ำนวนนักท่
องเที่
ยวที่
เพิ่
มขึ้
นแล้
ว ยั
งรวมไปถึ
งกลุ
่
มผู้
มี
บทบาท
ส�
ำคั
ญที่
สามารถชี้
น�
ำให้
สมาชิ
กอื่
นๆ ในชุ
มชนมองเห็
นความส�
ำคั
ญในการน�
ำ
การท่องเที่ยวเข้ามาเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ขึ้น เช่น การสร้างรายได้ สร้างอาชีพ
การพั
ฒนาบริ
การสาธารณูปโภคที่
จ�
ำเป็น เป็นต้น
ในการเข้าสู่กระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวของท้องถิ่นนั้
น ปัจจัยส�
ำคัญ
ที่
สุ
ดที่
ช่
วยให้
ชุ
มชนสามารถบรรลุ
เป้
าหมายในกรณี
นี้
ได้
ก็
คื
อ การบริ
หารจั
ดการฐาน
ทรั
พยากรทางวั
ฒนธรรมที่
เป็
นพื้
นฐานของแต่
ละชุ
มชน ทั้
งในด้
านของวั
ฒนธรรม
ทางวัตถุ เช่น สภาพชุมชน สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ ของใช้ต่างๆ ในชีวิตประจ�
ำวัน
และวั
ฒนธรรมที่
ไม่
ใช่
วั
ตถุ
เช่
น วิ
ถี
การด�
ำเนิ
นชี
วิ
ต พิ
ธี
กรรม ประเพณี
ให้
อยู่
ใน
สภาพที่
สื่
อถึ
งความหมายของความเป็
นท้
องถิ่
นในความรู้
สึ
กของนั
กท่
องเที่
ยวได้
และ
เกิ
ดความพึ
งพอใจสมกั
บที่
ได้
มี
การโหยหาอดี
ต ทั้
งนี้
จากข้
อสั
งเกตที่
ได้
จากงาน
วิจัยที่ได้ท�
ำการศึกษาพบว่า ในกระบวนการรื้อฟื
้
นหรือปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์
ทาง
วั
ฒนธรรมของชุ
มชนท้
องถิ่
นมั
กมี
ที่
มาจากความริ
เริ่
มของบุ
คคลหรื
อกลุ
่
มบุ
คคลที่
ตระหนั
กถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการรับการท่องเที่ยวเข้าสู่ชุมชน โดยในหลาย
กรณี
นั้
น องค์
กรหรื
อสถาบั
นต่
างๆ ภายในชุ
มชน เช่
น สมาชิ
กภายในชุ
มชนบางกลุ่
ม
ช่
วยกั
นจั
ดการสภาพแวดล้
อมกายภาพ การสร้
างภาพลั
กษณ์
ที่
ดี
ให้
กั
บชุ
มชน
การจั
ดสรรผลประโยชน์
ให้
กั
บสมาชิ
กเพื่
อลดข้
อพิ
พาทและความขั
ดแย้
ง รวมทั้
งเป็
น
ตั
วกลางระหว่างชุ
มชนกั
บหน่วยงานภาครั
ฐอื่
นๆ อี
กด้วย
ประเด็
นที่
มี
ความน่
าสนใจเกี่
ยวกั
บการปรั
บเปลี่
ยนหรื
อรื้
อฟื้
นอั
ตลั
กษณ์
ทาง
วัฒนธรรมเพื่อตอบสนองต่อการท่องเที่ยวตั้งอยู่บนค�
ำถามว่า สิทธิ์ในการควบคุม
และจั
ดการกั
บอั
ตลั
กษณ์
เพื่
อให้
มี
ความสอดคล้
องกั
บความต้
องการของนั
กท่
องเที่
ยว
ควรจะเป็
นของผู้
ใดหรื
อกลุ
่
มใดในชุ
มชน เนื่
องจากในความเป็
นจริ
ง อ�
ำนาจหรื
อ
ขอบเขตในการจั
ดการทรั
พยากรหรื
อมรดกทางวั
ฒนธรรมของชุ
มชนท้
องถิ่
น
อาจอยู่
ใต้
กลุ
่
มบุ
คคลในวงจ�
ำกั
ดที่
สามารถมี
อิ
ทธิ
พลต่
อสมาชิ
กอื่
นๆ ในด้
านการ
ขอความร่
วมมื
อ จูงใจ หว่
านล้
อมต่
างๆ เป็
นส่
วนใหญ่
นอกจากนั้
น สิ่
งที่
มั
กปรากฏชั
ดขึ้
น
จากการรั
บการท่
องเที่
ยวเข้
ามาในชุ
มชนก็
คื
อ ความขั
ดแย้
งระหว่
างกลุ่
มบุ
คคลต่
างๆ