งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
207
ซึ่งส่วนหนึ่
งมักมาจากการจัดสรรในด้านผลประโยชน์ที่ไม่ลงตัว ทั้งในส่วนของผู้ที่
เป็
นสมาชิ
กชุ
มชนดั้
งเดิ
มด้
วยกั
นเอง และกลุ
่
มผู้
เข้
ามาใหม่
จากภายนอกที่
เข้
ามา
ประกอบอาชีพทับซ้
อนกับชาวชุมชนเดิม ทั้งนี้ ยังไม่รวมไปถึงปั
ญหาอื่นๆ ที่อาจ
เกิ
ดขึ้
นเป็
นผลกระทบในทางลบที่
ตามมา เช่
น ปั
ญหาสภาพแวดล้
อมที่
เสื่
อมโทรมลง
การขาดความรู้ ความเข้าใจของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติและ
วั
ฒนธรรม ปั
ญหาสั
งคมในรูปแบบอื่
นๆ ในรูปของอาชญากรรม การลั
กเล็
กขโมยน้
อย
ซึ่
งปัญหาเหล่านี้
มั
กจะสะท้อนให้เห็
นออกมาในงานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้องอยู่เสมอ
4.6 วิธีวิทยาในงานวิจัยวัฒนธรรมกับการพัฒนา
จากการทบทวนงานศึกษาในหัวข้อ วัฒนธรรมกับการพัฒนาในภาคกลาง
ซึ่
งปรากฏงานศึ
กษาในหลากหลายสาขาวิ
ชา ไม่
ว่
าจะเป็
นสั
งคมวิ
ทยา มานุ
ษยวิ
ทยา
สั
งคมสงเคราะห์
สิ่
งแวดล้
อม การพั
ฒนาชนบท รั
ฐศาสตร์
รวมถึ
งงานวิ
จั
ยเชิ
ง
ปฏิ
บั
ติ
การในงานวิ
จั
ยชุ
มชน ความหลากหลายของสาขาท�
ำให้
เกิ
ดมุ
มมองที่
กว้
างขวางขึ้
นในประเด็
นศึ
กษาเดี
ยวกั
น แต่
อี
กด้
านหนึ่
งก็
ท�
ำให้
งานสั
งเคราะห์
ท�
ำได้
ยากล�ำบากมากขึ้
นเนื่
องจากความกระจั
ดกระจายของแนวความคิ
ด ดั
งนั้
น
เพื่
อท�
ำให้
เกิ
ดความเข้
าใจง่
าย จึ
งขอจ�
ำแนกกรอบแนวคิ
ดที่
ใช้
โดยพิ
จารณาจาก
มุ
มมองต่อมิ
ติ
การพั
ฒนาที่
ปรากฎในงานศึ
กษา ดั
งนี้
แนวคิดการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย: จากมุมมองแบบขั้วตรงกันข้าม
กรอบแนวคิ
ดการพั
ฒนาไปสู่
ความทั
นสมั
ยปรากฏมากในงานศึ
กษาประเภท
วิ
ทยานิ
พนธ์
ที่
อธิ
บายกระบวนการเปลี่
ยนแปลง ครอบคลุ
มวิ
ถี
ชี
วิ
ต การท�
ำมาหากิ
น
ค่
านิ
ยม โดยเชื่
อมโยงกั
บการพั
ฒนาไปสู่
ความเป็
นเมื
อง (urbanization) อุ
ตสาหกรรม
(industrialization) และความเป็
นตะวั
นตก (westernization) ที่
ส่
งผลกระทบต่
อวิ
ถี
ชี
วิ
ต
ผู้คนในทางที่
เสื่
อมโทรมลง