Previous Page  202 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 202 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

201

4.5 การอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมในบริบท

การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

จากการทบทวนเอกสารและงานวิ

จั

ยตั้

งแต่

ปี

2537 เป็

นต้

นมา พบว่

งานส่

วนใหญ่

ที่

เกี่

ยวกั

บประเด็

นดั

งกล่

าวมี

ลั

กษณะที่

แตกต่

างในสองทิ

ศทาง คื

การจั

ดการระบบนิ

เวศและสภาพแวดล้

อมธรรมชาติ

ของชุ

มชนเพื่

อเอื้

อกั

บการ

ท่

องเที่

ยว และการอนุ

รั

กษ์

และฟื

นฟูวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นของชุ

มชนในการบริ

หาร

จั

ดการท่

องเที่

ยวอั

นเป็

นผลสื

บเนื่

องมาจากกระบวนการพั

ฒนาความทั

นสมั

การพั

ฒนาอุ

ตสาหกรรม การขยายตั

วของความเป็

นเมื

องและการแพร่

กระจาย

ของลั

ทธิ

บริ

โภคนิ

ยมไปสู่

ชุ

มชนท้

องถิ่

น ทั้

งในเขตเมื

องและชนบท ก่

อให้

เกิ

ดการ

เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม

วั

ฒนธรรม ท่

ามกลางการเปลี่

ยนแปลงเหล่

านี้

อุ

ตสาหกรรมท่

องเที่

ยวกลายเป็

ปั

จจั

ยทางเศรษฐกิ

จตั

วใหม่

ที่

ถูกน�

ำเข้

าสู่

ชุ

มชนในฐานะเครื่

องมื

อที่

ก่

อให้

เกิ

การพัฒนา น�

ำรายได้และประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากภายนอกเข้ามาสู่ชุมชน ซึ่ง

ในกรณี

นี้

สามารถสะท้

อนออกมาได้

อย่

างดี

จากทั้

งนโยบายและระดั

บภาพใหญ่

ของ

รั

ฐบาลที่

สนั

บสนุ

นการท่

องเที่

ยวอย่

างเต็

มที่

เช่

น โครงการสนั

บสนุ

นกิ

จกรรมและ

ประชาสั

มพั

นธ์

การท่

องเที่

ยวโดยการท่

องเที่

ยวแห่

งประเทศไทย การจั

ดท�

ำมาตรฐาน

วิ

ชาชี

พและมาตรฐานแหล่

งท่

องเที่

ยว รวมถึ

งโครงการหนึ่

งต�

ำบลหนึ่

งผลิ

ตภั

ณฑ์

ที่

มี

ส่

วนเสริ

มด้

านการท่

องเที่

ยวชุ

มชน นอกจากนั้

นยั

งมี

ผลมาถึ

งนโยบายระดั

บปฏิ

บั

ติ

การ

ขององค์

กรท้

องถิ่

นต่

างๆ ที่

มี

หน้

าที่

ดูแลรั

บผิ

ดชอบและบริ

หารจั

ดการทรั

พยากร

การท่

องเที่

ยวอี

กด้

วย แต่

ในการประมวลและสั

งเคราะห์

ได้

เน้

นไปที่

งานเกี่

ยวกั

การอนุ

รั

กษ์วั

ฒนธรรมท้องถิ่

นของชุ

มชนในการบริ

หารจั

ดการท่องเที่

ยว

การศึ

กษาวิ

จั

ยรูปแบบการจั

ดการท่

องเที่

ยวของชุ

มชนในเขตพื้

นที่

ภาคกลาง

ตะวั

นออกและตะวั

นตก อาจมี

ความหลากหลายแตกต่

างกั

นออกไปตามสภาพ

พื้

นที่

เช่

นการท่

องเที่

ยวเชิ

งนิ

เวศ การท่

องเที่

ยวเชิ

งเกษตรกรรม การท่

องเที่

ยงเชิ

ประวั

ติ

ศาสตร์

การท่

องเที่

ยวด้

านนันทนาการและการท่

องเที่

ยวเชิ

งวั

ฒนธรรม