158
ถกเถียงวัฒนธรรม
คนไทยท�
ำให้
พวนรู้
สึ
กเป็
นส่
วนหนึ่
งของสั
งคมใหญ่
และของรั
ฐไทย ซึ่
ง ปิ
ยะพร (2538)
ได้ตั้
งข้อสั
งเกตว่า จิ
ตส�
ำนึ
กความเป็น “พวน” ยั
งคงอยู่ แต่สั
ญลั
กษณ์วั
ฒนธรรม
ที่เคยนิยามความเป็นพวนบางอย่างเช่นภาษา อาจจะสูญหายไป และประเพณี
ที่
ด�
ำรงอยู่ก็
อาจจะปรั
บเปลี่
ยนไปบ้าง
ส่วนงานของ ยุ
รี
ใบตระกูล (2537) ซึ่
งศึ
กษาชุ
มชนพวนบางน�้
ำเชี่
ยว สิ
งห์บุ
รี
แสดงว่
าวั
ฒนธรรมพวนได้
เปลี่
ยนแปลงไปมากแล้
ว แต่
“พิ
ธี
บุ
ญก�
ำฟ้
า” ยั
งท�
ำหน้
าที่
เป็นกลไกหรื
อเป็นพลั
งยึ
ดเหนี่
ยวพวน ที่
ปัจจุ
บั
นแม้จะอยู่ต่างถิ่
นกั
น ได้กลั
บคื
นถิ่
น
เพื่
อท�
ำพิ
ธี
ซึ่
งเป็
นเสมื
อนสั
ญลั
กษณ์
ของความเป็
นพวนที่
มี
วั
ฒนธรรมถื
อผี
บรรพบุ
รุ
ษ
ร่
วมกั
น ท�
ำให้
พิ
ธี
“บุ
ญก�
ำฟ้
า” มี
หน้
าที่
ส�
ำคั
ญทั้
งในเชิ
งชุ
มชนและชาติ
พั
นธุ
์
งานล่
าสุ
ดคื
องานของ เจนสุ
ดา สมบั
ติ
(2548) ซึ่
งศึ
กษาความเป็
นพวนผ่
านการรวมกลุ
่
ม
เพื่
อฟื
้
นฟูวั
ฒนธรรมพวน มี
ข้
อสั
งเกตว่
ารากเหง้
า “ความเป็
นพวน” แสดงออก
ในบริ
บทต่
างๆ โดยที่
ประวั
ติ
ศาสตร์
บอกเล่
ามี
ความส�
ำคั
ญในการตอกย�้
ำความเข้
าใจ
เกี่
ยวกั
บที่
มาของพวน โดยที่
ในแต่
ละท้
องถิ่
นจะเลื
อกสรรตามความต้
องการของตน
งานศึ
กษาลาวโซ่
งในเชิ
งชาติ
พั
นธุ
์
นั
บว่
ามี
น้
อยมาก ส่
วนใหญ่
จะเน้
นการ
แสดงออกของเอกลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมของลาวโซ่
งเป็
นส�
ำคั
ญ มี
บางงานกล่
าว
พาดพิ
งอยู่
บ้
างประปราย เช่
น งานของ สุ
มิ
ตร ปิ
ติ
พั
ฒน์
และเสมอชั
ย พูลสุ
วรรณ (2540)
10
ซึ่
งตั้
งข้
อสั
งเกตว่
าสั
ญลั
กษณ์
วั
ฒนธรรมที่
ตอกย�้ำความเป็
นพวกเดี
ยวกั
นมี
หลายอย่
าง
เช่
น ภาษา และเครื่
องแต่
งกาย แต่
ที่
ส�
ำคั
ญคื
อเรื่
องความเชื่
อในเรื่
อง “ผี
บรรพบุ
รุ
ษ”
และพิธีกรรมเสนเรือน ส่วนฉวีวรรณ ประจวบเหมาะและวรานั
นท์ วรวิศร์ (2543)
ได้
ตั้
งข้
อสั
งเกตเกี่
ยวกั
บความเป็
นมาและความเป็
นไปของอั
ตลั
กษณ์
ลาวโซ่
งว่
าน่
าจะ
ต้
องศึ
กษาลงลึ
กไปมากกว่
าที่
เป็
นอยู่
เพราะข้
อมูลที่
มี
อยู่
ยั
งมี
ประเด็
นน่
าสงสั
ย
ไม่อาจสรุ
ปได้อย่างชั
ดเจน
เท่
าที่
ปรากฎ ผู้
รู้
ลาวโซ่
งได้
อธิ
บายว่
า “ลาวโซ่
ง” เป็
นลาวกลุ
่
มหนึ่
งซึ่
งมี
ภาษาพูดใกล้
เคี
ยงกั
บ “ลาวพวน” และ “ลาวเวี
ยง” แต่
ไม่
ใช่
“พวก” เดี
ยวกั
น
10
ที่ศึกษาหมู่บ้านลาวโซ่งจ�ำนวน 10 หมู่บ้าน ใน อ.เขาย้อย อ.หนองหญ้าปล้อง อ.เมือง และ อ.ท่ายาง ใน
จ.เพชรบุรี และ อ.ด�ำเนินสะดวก จ.ราชบุรี