Previous Page  162 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 162 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

161

ธมลวรรณ ตั้งวงษ์เจริญ (2542) ได้ศึกษาชุมชนอ้อมใหญ่ และรายงานว่า

คนไทยเชื้

อสายจี

นเข้ามาอยู่ที่

อ้อมใหญ่ตั้

งแต่ก่อนปี พ.ศ.2400 ซึ่

งมี

คนไทยท�

ำสวน

อยู่

ในพื้

นที่

อยู่

แล้

ว จากการศึ

กษาผ่

านประวั

ติ

ศาสตร์

ครอบครั

ว 10 ครอบครั

ว พบว่

น่

าจะเป็

นการเข้

ามารั

บจ้

างแรงงานบ้

างและมาหาที่

ท�

ำกิ

นบ้

าง ซึ่

งธมลวรรณ (2542)

ได้

ตั้

งข้

อสั

งเกตว่

า คนจี

นรุ

นแรกจะมี

จิ

ตส�

ำนึ

กความเป็

นจี

นมาก และพยายามให้

ลูกๆ สื

บทอดความเป็

นจี

นไว้

แต่

ในรุ

นที่

3 ลูกหลานได้

ปรั

บตั

วเป็

นไทยมากขึ้

ผ่านการศึ

กษาระบบโรงเรี

ยน แต่หลั

ง พ.ศ.2492 การกดดั

นของรั

ฐบาลไทยที่

ท�

ำให้

คนจี

นเป็นไทย คนจี

นรุ่นหลั

งจึ

งได้สละความเป็นจี

นบางอย่าง เช่น ภาษา เพื่

อมิ

ให้

ขัดแย้งกั

บมาตรการของรั

เมื่

อพิ

จารณางานของสถาพร ปั

ทมาเจริ

ญ (2544) ซึ่

งศึ

กษาชุ

มชนเมื

อง

นครปฐมโดยให้

ความส�

ำคั

ญกั

บสภาวะปั

จจุ

บั

นมากกว่

า เราจะเห็

นภาพความส�ำคั

ของศาลเจ้

าจี

นในการธ�

ำรงอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ

จี

น ผ่

านสั

ญลั

กษณ์

วั

ฒนธรรมที่

ส�

ำคั

คือ ภาษาจีนและกิจกรรมทางศาสนา เช่น ประเพณี

การกินเจ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์

ส�

ำคั

ญของความเป็

นจี

น อย่

างไรก็

ตาม สั

ญลั

กษณ์

เหล่

านี้

ได้

รั

บความหมาย

ใหม่ๆ ของความเป็นไทยเข้ามา เช่น ธงชาติ

ไทย พระพุ

ทธรูปแบบไทย กระถางธูป

มี

อั

กษร จปร. และตั้

งชื่

อโรงเรี

ยนจี

นเป็นภาษาไทย เป็นต้น

3.6 บทสรุป: พรมแดนและช่องว่างความรู้

การตื่นตัวและเคลื่อนไหวในสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาวิชา

มานุ

ษยวิ

ทยาในเรื่

องการศึ

กษาจิ

ตส�

ำนึ

กชาติ

พั

นธุ

มี

มาตั้

งแต่

ทศวรรษ 2510 และ

เฟื่

องฟูมากในทศวรรษของ 2520 แต่

ส�

ำหรั

บการศึ

กษาชาติ

พั

นธุ์

และชุ

มชนชาติ

พั

นธุ์

ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่

างยิ่

งในงานศึ

กษาภาคกลางในประเด็

นดั

งกล่

าวได้

รั

อิ

ทธิ

พลแนวคิ

ดดั

งกล่

าวอย่

างล่

าช้

ามาก พึ่

งได้

รั

บความสนใจหลั

ง พ.ศ.2530 ไปแล้

และยั

งนั

บว่ามี

น้อยมาก