Previous Page  158 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 158 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

157

จากกลุ

มอื่

นๆ และพิ

จารณาวั

ฒนธรรมในฐานะที่

เป็

นสั

ญลั

กษณ์

จ�ำแนกตั

วเองว่

าเป็

สมาชิ

กของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ใด ตลอดจนศึ

กษาความสั

มพั

นธ์ที่

มี

กั

บกลุ่มชาติ

พั

นธุ์อื่

และความหมายของชาติ

พั

นธุ

ในกระบวนการก่

อตั

วเป็

นรั

ฐและการต่

อต้

านรั

ฐแล้

วรวม

ได้เพี

ยง 25 งานเท่านั้

น ซึ่

งนั

บว่าน้อยมาก เมื่

อเที

ยบกั

บงานทั้

งหมดไม่ถึ

งร้อยละ 2

และที่

เป็นเรื่

องชาติ

พั

นธุ์กั

บรั

ฐมี

เพี

ยง 2 เรื่

องไม่ถึ

งร้อยละ 1 ของงานทั้

งหมด

อย่

างไรก็

ตาม ผู้

เขี

ยนได้

คงประเด็

นนี้

ไว้

เพื่

อแสดงให้

เห็

นสถานภาพงาน

ศึกษาเชิงชาติพันธุ์ในภาคกลางว่

าเป็

นเช่นไร เพราะในปั

จจุบันการแสดงหาความ

รู้เชิงชาติพั

นธุ์

ได้

พัฒนาไปสู่

ค�ำถามในเรื่องความสัมพั

นธ์ระหว่

างความเป็

นรั

ฐและ

ความเป็

นชาติ

พั

นธุ

แล้

ว การศึ

กษาเชิ

งชาติ

พั

นธุ

ในภาคกลางอาจจะค่

อนข้

างพั

ฒนาช้

ด้วยเงื่

อนไขเกี่

ยวกั

บลั

กษณะและประวั

ติ

ศาสตร์ความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์เอง

งานของปราณี

วงษ์

เทศ (2531) ท�

ำให้

เราพอมองเห็

นภาพว่

าลาวพวนใน

ชุ

มชนที่

ศึ

กษามี

ประเพณี

บอกเล่

าที่

ท�ำให้

สมาชิ

กชุ

มชนได้

เรี

ยนรู้

ความเป็

นลาวร่

วมกั

โดยเฉพาะอย่างยิ่งพิธีกรรมในการสืบทอดชาดก กลายเป็นสัญลักษณ์ส�

ำคัญของ

ความเป็

นลาว สนิ

ท สมั

ครการ (Snit Smuckarn 1972) ได้

ศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบชุ

มชนพวน

2 ชุ

มชน ที่

บ้านหมี่

จ.ลพบุ

รี

ซึ่

งแสดงจิ

ตส�ำนึ

กทางชาติ

พั

นธุ์ไม่เหมื

อนกั

น ลาวพวน

ที่

บางกระพี้

มองว่

าตั

วเองเป็

น “ไทย” สมบูรณ์

แต่

ที่

บ้

านเซ่

ามี

ความหลากหลาย

ในเรื่

องจิ

ตส�

ำนึ

กอั

ตลั

กษณ์ชาติ

พั

นธุ์ คื

อร้อยละ 5 ว่าเป็นลาว ร้อยละ 66 ระบุ

ว่า

เป็นไทย แต่ร้อยละ 26 มองว่าตนเองเป็นพวน ในอี

กงานหนึ่

ง ปิยะพร วามะสิ

งห์

(2538) ซึ่

งศึ

กษาลาวพวนที่

ปากพลี

จ.นครนายก ชี้

ให้

เห็

นว่

าอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ์

ของ

พวนได้ก่อตัวจากการที่ถูกอพยพมาโดยไม่สมัครใจ และในระยะแรกเริ่มถูกบังคับ

ให้อยู่ในพื้

นที่

เดี

ยวกั

น ถูกสอดส่องโดยรั

ฐไทยและถูกเหยี

ยดหยามโดยคนไทย จึ

งมี

ความทรงจ�

ำซึ่

งสื

บทอดผ่านเพลงกล่อมเด็

กที่

ผูกพั

นกั

บท้องถิ่

นเดิ

ม และการปฏิ

บั

ติ

ตามประเพณี

ร่

วมกั

นที่

แตกต่

างจากคนไทย แต่

เมื่

อกาลเวลาผ่

านไป มี

การติ

ดต่

อกั

คนไทยและมี

การแต่งงานข้ามกลุ่มกั

นมากขึ้

น ท�

ำให้ในปัจจุ

บั

นอั

ตลั

กษณ์ชาติ

พั

นธุ์

มี

ลั

กษณะทั

บซ้

อนระหว่

างการเป็

นไทยและการเป็

นพวน ความเป็

นพวนได้

ท�

ำให้

เกิ

ความผูกพั

นระหว่

างพวนที่

ต่

างถิ่

นกั

นและก่

อให้

เกิ

ดความร่

วมมื

อ ส่

วนความเป็