152
ถกเถียงวัฒนธรรม
เป็นสมาชิกสภาฯด้วย แต่ในช่วงเวลาที่ท�ำการศึกษา การบริหารโดยคนในท้องถิ่น
จะถูกจ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะในเรื่
องงานด้
านสาธารณูปโภคในรูปของเทศบาล ส่
วนเรื่
อง
การเปลี่
ยนแปลงทางด้านความเชื่
อไม่มี
การวิ
เคราะห์ที่
ชั
ดเจน
เกรี
ยงศั
กดิ์
อ่
อนละมั
ย (2540) ซึ่
งศึ
กษาหมู่
บ้
านหิ
นปั
ก อ.บ้
านหมี่
ประมาณ
เกื
อบ 20 ปี
หลั
งจากการศึ
กษาของสนิ
ท สมั
ครการ พบว่
าชุ
มชนได้
รั
บผลกระทบจาก
กระแสโลภาภิวัฒน์
ที่มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงและเน้
นการบริ
โภคนิยม ท�
ำให้
สมาชิกชุมชนต้องใช้เวลาไปกับการท�ำมาหากินจนท�ำให้ไม่มีเวลา หรือมีเวลาน้อย
กั
บการประกอบพิ
ธี
กรรม ประกอบกั
บพวนรุ
่
นหลั
งได้
รั
บการศึ
กษาแบบทางการท�ำให้
ความเชื่
อถื
อในเรื่
อง “ผี
” ลดความส�
ำคั
ญลง ซึ่
งมี
ผลต่
อการประกอบพิ
ธี
กรรมที่
เกี่
ยวกั
บเรื่
องผี
โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งเมื่
อค่
าใช้
จ่
ายต่
างๆ เพิ่
มขึ้
นมาก นอกจากนี้
สื่
อต่
างๆ
เช่
น โทรทั
ศน์
วิ
ทยุ
และหนั
งสื
อ ได้
เข้
าไปทดแทนการนั
นทนาการแบบเดิ
ม การละเล่
น
ตามประเพณี
จึงสูญหายไปจากชุมชน งานของมยุรี ใบตระกูล (2537) ได้บ่งบอก
ไปในท�ำนองเดียวกันว่าที่บ้านพวน จ.สิงห์บุรี ได้เลิกถือปฏิบัติประเพณี
บุญข้
าวจี่
และบุ
ญข้าวหลามกั
นไปหมดแล้ว
งานศึ
กษาการปรั
บตั
วของลาวโซ่
งยั
งมี
น้
อยกว่
าการปรั
บตั
วของลาวพวน
งานที่
มี
อยู่
อาจจะมี
การกล่
าวถึ
งการปรั
บตั
วบ้
าง แต่
ไม่
ได้
ศึ
กษาเจาะลึ
กมากนั
ก
อย่างเช่นงานของฉวี
วรรณ ประจวบเหมาะ และวรานั
นท์ วรวิ
ศร์ (2543) ได้สรุ
ปใน
บทสุดท้ายว่าชีวิตชุมชนชาวนาลาวโซ่งที่หนองเลาคงได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงมาก
แต่
ไม่อาจจะระบุการเปลี่ยนแปลงดังกล่
าวให้ชัดเจนได้ แต่
พอจะมีหลักฐานได้
ว่
า
อย่างน้อยชุมชนลาวโซ่งได้รับวิถีวัฒนธรรมแบบพุทธ และการศึกษาแบบทางการ
เข้
ามาเป็
นส่
วนส�
ำคั
ญของชุ
มชน และจากการศึ
กษาในเบื้
องต้
นพบว่
าลาวโซ่
งได้
ปรั
บตั
วทางเศรษฐกิ
จที่
ส�
ำคั
ญ คื
อ เปลี่
ยนจากการท�
ำมาหากิ
นเป็
นการท�
ำมาค้
าขาย
และมี
พั
ฒนาการในเรื่
องอาชี
พไปสู่
ความหลากหลายมากขึ้
น การท�ำนาแม้
จะยั
งเป็
น
อาชี
พของคนส่
วนใหญ่
แต่
ได้
เกิ
ดอาชี
พอื่
นๆ ด้
วยเช่
น รั
บจ้
าง รั
บราชการ และค้
าขาย
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจได้ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปถึงการจัดระเบียบสังคมด้วย
เช่
น ในระดับครั
วเรื
อน ได้
มีการปรั
บตั
วอย่
างหลากหลาย เช่
น การเปลี่
ยนแปลง