Previous Page  150 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 150 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

149

สังคมที่

แตกต่

างในท้

องถิ่

นต่

างๆ เพราะว่

างานต่

างๆ เหล่

านี้ได้

ถูกผลิ

ตผ่

านความ

สนใจและผ่

านมุ

มมองของนั

กวิ

จั

ยที่

มี

ความแตกต่

างกั

น ท�

ำให้

การเปรี

ยบเที

ยบเป็

นไป

ได้ยากและไม่อาจจะสร้างนั

ยยะทั่

วไปได้

ส่

วนในอี

กทางหนึ่

งกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ อาจจะมี

ความคล้

ายคลึ

งกั

นในบางมิ

ติ

ของวั

ฒนธรรมเช่

นในเรื่

องของชี

วิ

ตทางเศรษฐกิ

จ แม้

ว่

าจะเป็

นกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่

ต่

างกั

แต่

อาจมี

ความคล้

ายคลึ

งกั

นในเรื่

องกิ

จกรรมการผลิ

ตอย่

างการท�

ำนา และต้

อง

เผชิญชะตากรรมร่วมกัน คืออาจอยู่ภายใต้อิทธิพลของระบบตลาดและการลงทุน

ทางเทคโนโลยี

หรื

อในมิ

ติ

ของการจั

ดระเบี

ยบสั

งคม อาจมี

ทั้

งความคล้

ายคลึ

งกั

นและ

แตกต่างกัน แต่เมื่อเกี่ยวกับระบบความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมแล้ว แม้จะมี

ลั

กษณะร่

วมกั

นในเรื่

องการนั

บถื

อพุ

ทธศาสนาก็

ตาม ระบบความเชื่

อดั้

งเดิ

มเช่

การถื

อผี

บรรพบุ

รุ

ษหรื

อการประกอบพิ

ธี

กรรมท�

ำให้

เห็

นชั

ดเจนว่

า กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆมี

ความแตกต่

างกั

นอย่

างชั

ดเจน และกลายเป็

นเอกลั

กษณ์

ทางวั

ฒนธรรมของ

ชาติ

พั

นธุ์กลุ่มต่างๆ

3.4 การปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทของการพัฒนา

ในขณะที่

งานส่

วนใหญ่

ที่

ศึ

กษากลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ในภาคกลางเป็

นการพรรณนา

วั

ฒนธรรมชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

แต่

ยั

งมี

งานบางส่

วนสนใจการเปลี่

ยนแปลงทางวั

ฒนธรรม

ของชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ในบริ

บทของการพั

ฒนาไปสู่

ความทั

นสมั

ย และโลกาภิ

วั

ฒน์

ภายใต้มโนทั

ศน์ “การปรับตั

วทางวั

ฒนธรรม” เป็นหลั

แรกเริ่

มค�

ำว่

า “ปรั

บตั

ว” (adaptation) ที่

ใช้

ในมานุ

ษยวิ

ทยามั

กจะใช้

ใน

บริ

บทที่

เกี่

ยวกั

บมานุ

ษยวิ

ทยาชี

วภาพ และเกี่

ยวข้

องกั

บทฤษฏี

วิ

วั

ฒนาการของ

สิ่

งมี

ชี

วิ

ต แต่

ในทศวรรษของ 2500 มโนทั

ศน์

“การปรั

บตั

ว” ได้

เข้

ามามี

บทบาทส�

ำคั

ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันสังคมและวัฒนธรรม เช่นการรวมกลุ่ม

ทางสังคม ระบบค่านิยมและความเชื่อกับสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ผ่

านการวิ

เคราะห์

การจั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

ในพั

ฒนาการของสาขาย่

อย